คำอธิบายรายวิชา
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน                                                                      รหัส ว21101
หน่วยกิต 1.5 หน่วยกิต                                                                          เวลา 60 ชั่วโมง
ภาคเรียนที่ 1                                                                                    ปีการศึกษา 2562
ตรงตามตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560 ) 
………………………………………………………………………………………………………………
ศึกษาวิเคราะห์ และเข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต เซลล์ ส่วนประกอบ โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์   การแพร่ของสารเข้าสู่เซลล์  การลำเลียงสารเข้า และออกจากเซลล์   การสังเคราะห์ด้วยแสง  กลุ่มเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช  การสืบพันธุ์ของพืชทั้งอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ  การตอบสนองของพืชต่อ  แสง  น้ำ  และการสัมผัส หลักการความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทำงานสัมพันธ์กัน  รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ และผลการใช้เทคโนโลยีในการขยายพันธุ์  ปรับปรุงพันธุ์ เพิ่มผลผลิตพืช  การจำแนกสาร  ความเป็นกรด-เบส  ความเข้มข้นของสารละลาย และการเปลี่ยนแปลงของสาร 
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล และการอภิปราย 
เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจสามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ  นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์  ซื่อสัตย์สุจริต  มีวินัยใฝ่เรียนรู้  อยู่อย่างพอเพียง  มุ่งมั่นในการทำงาน  และมีจิตสาธารณะ
ตัวชี้วัด
ว 1.2 (ม1/1) ว 1.2 (ม1/2) ว 1.2 (ม1/3) ว 1.2 (ม1/4) ว 1.2 (ม1/5)ว 1.2 (ม1/6) ว 1.2 (ม1/7)
ว 1.2 (ม1/8) ว 1.2 (ม1/9) ว 1.2 (ม1/10) ว 1.2 (ม1/11) ว 1.2 (ม1/12)   ว 1.2 (ม1/13)  )   
ว 1.2 (ม1/14)  )     1.2 (ม1/15)  ว 1.2 (ม1/6)   ว 1.2 (ม1/16) ว 1.2 (ม1/17)  )   ว 1.2 (ม1/18) 
2.1  (ม1/1) ว 2.1 (ม1/2) ว 2.1 (ม1/3) ว 2.1 (ม1/4) ว 2.1 (ม1/5) ว  2.1  (ม1/6) ว 2.1  (ม1/7)
2.1 (ม1/8) ว 2.1 (ม1/9)  2.1  (ม1/10)   
 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560
สาระที่ 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
 มาตรฐาน  1.2  เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารเข้า และออกจากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทำงานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทำงานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ว 1.2 (ม1/1) เปรียบเทียบรูปร่าง ลักษณะ และโครงสร้าง ของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์รวมทั้งบรรยายหน้าที่ ของผนังเซลล์เยื่อหุ้มเซลล์ไซโทพลาซึม นิวเคลียส แวคิวโอล ไมโทคอนเดรีย และ
คลอโรพลาสต์
ว 1.2 (ม1/2)  ใช้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงศึกษาเซลล์ และโครงสร้างต่าง ๆ ภายในเซลล์
ว 1.2 (ม1/3)  อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างรูปร่าง กับการทำหน้าที่ของเซลล์
ว 1.2 (ม1/4)  อธิบายการจัดระบบของสิ่งมีชีวิต โดยเริ่มจาก เซลล์เนื้อเยื่อ อวัยวะ ระบบอวัยวะ จนเป็น สิ่งมีชีวิต
ว 1.2 (ม1/5) อธิบายกระบวนการแพร่และออสโมซิสจาก หลักฐานเชิงประจักษ์และยกตัวอย่างการแพร่ และออสโมซิสในชีวิตประจำวัน
ว 1.2 (ม1/6) ระบุปัจจัยที่จำเป็นในการสังเคราะห์ด้วยแสง และผลผลิตที่เกิดขึ้นจากการสังเคราะห์ด้วยแสง โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์
ว 1.2 (ม1/7)อธิบายความสำคัญของการสังเคราะห์ด้วยแสง ของพืชต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
ว 1.2 (ม1/8) ตระหนักในคุณค่าของพืชที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและ สิ่งแวดล้อม โดยการร่วมกันปลูกและดูแลรักษา ต้นไม้ในโรงเรียนและชุมชน
ว 1.2 (ม1/9) บรรยายลักษณะและหน้าที่ของไซเล็มและ โฟลเอ็ม
ว 1.2 (ม1/10) เขียนแผนภาพที่บรรยายทิศทาง การลำเลียงสารในไซเล็มและโฟลเอ็ม ของพืช
ว 1.2 (ม1/11) อธิบายการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ และ ไม่อาศัยเพศของพืชดอก
ว 1.2 (ม1/12)  อธิบายลักษณะโครงสร้างของดอกที่มีส่วน ทำให้เกิดการถ่ายเรณูรวมทั้งบรรยาย การปฏิสนธิของพืชดอก การเกิดผลและเมล็ด การกระจายเมล็ด และการงอกของเมล็ด
ว 1.2 (ม1/13) ตระหนักถึงความสำคัญของสัตว์ที่ช่วยในการ ถ่ายเรณูของพืชดอก โดยการไม่ทำลายชีวิต ของสัตว์ที่ช่วยในการถ่ายเรณู
ว 1.2 (ม1/14)  อธิบายความสำคัญของธาตุอาหาร บางชนิดที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและการดำรงชีวิตของพืช
ว 1.2 (ม1/15) เลือกใช้ปุ๋ยที่มีธาตุอาหารเหมาะสมกับพืชใน สถานการณ์ที่กำหนด
ว 1.2 (ม1/16) เลือกวิธีการขยายพันธุ์พืชให้เหมาะสมกับ ความต้องการของมนุษย์โดยใช้ความรู้ เกี่ยวกับการสืบพันธุ์ของพืช 
ว 1.2 (ม1/17) อธิบายความสำคัญของเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชในการใช้ประโยชน์ด้านต่าง ๆ
ว 1.2 (ม1/18) ตระหนักถึงประโยชน์ของการขยายพันธุ์พืช โดยการนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว  2.1  เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับโครงสร้าง และแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี
2.1  (ม1/1)  อธิบายสมบัติ ทางกายภาพบาง ประการของธาตุ โลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ โดย ใช้หลักฐานเชิง ประจักษ์ที่ได้จาก การสังเกตและ การทดสอบ และ ใช้สารสนเทศที่ ได้จากแหล่งข้อมูล ต่าง ๆ รวมทั้งจัด กลุ่มธาตุเป็น โลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ
2.1  (ม1/2)  วิเคราะห์ผลจาก การใช้ธาตุโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ และธาตุ กัมมันตรังสี ที่มี ต่อสิ่งมีชีวิต สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและ สังคม จากข้อมูล ที่รวบรวมได้
2.1  (ม1/3)  ตระหนักถึง คุณค่าของการใช้ ธาตุโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ ธาตุ กัมมันตรังสี โดย เสนอแนวทาง การใช้ธาตุอย่าง ปลอดภัย คุ้มค่า
2.1  (ม1/4) เปรียบเทียบ จุดเดือด จุด หลอมเหลวของสารบริสุทธิ์และ สารผสม โดยการ วัดอุณหภูมิ เขียน กราฟ แปล ความหมาย ข้อมูลจากกราฟ หรือสารสนเทศ
2.1  (ม1/5)  อธิบายและ เปรียบเทียบ ความหนาแน่น ของสารบริสุทธิ์ และสารผสม
2.1  (ม1/6)  ใช้เครื่องมือเพื่อ วัดมวลและ ปริมาตรของสาร บริสุทธิ์และสารผสม
2.1  (ม1/7)อธิบายเกี่ยวกับ ความสัมพันธ์ ระหว่างอะตอม ธาตุ และ สารประกอบ โดยใช้ แบบจำลองและ สารสนเทศ
2.1  (ม1/8)  อธิบายโครงสร้างอะตอมที่ประกอบด้วย โปรตอน นิวตรอนและอิเล็กตรอน โดยใช้แบบจำลอง
2.1  (ม1/9) อธิบายและ เปรียบเทียบการ จัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหนี่ยว ระหว่างอนุภาค และการเคลื่อนที่ของอนุภาคของ สสารชนิด เดียวกันใน สถานะของแข็ง ของเหลว และ แก๊ส โดยใช้ แบบจำลอง
2.1  (ม1/10) อธิบาย ความสัมพันธ์ ระหว่างพลังงาน ความร้อนกับการ เปลี่ยนสถานะของ สสาร โดยใช้ หลักฐานเชิง ประจักษ์และ แบบจำลอง


                                                                                    นางสาวจุฑารัตน์ อุสาทรัพย์  ครูผู้สอน



                โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว21101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1  ปีการศึกษา 2562                             กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรโรงเรียนกลันทาพิทยาคม
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1          ภาคเรียนที่ 1        จำนวน 1.5 หน่วยกิต         เวลา  60 ชั่วโมง
ลำดับ
ที่
ชื่อหน่วยการ
เรียน
มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด
สาระสำคัญ
เวลา
(ชั่วโมง)
น้ำหนัก
คะแนน
1
หน่วยที่ 1 เรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร


6

2

หน่วยของสิ่งมีชีวิต
-เซลล์
-กล้องจุลทรรศน์ 
ว 1.2 (ม1/1) เปรียบเทียบรูปร่าง ลักษณะ และโครงสร้าง ของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์รวมทั้งบรรยายหน้าที่ ของผนังเซลล์เยื่อหุ้มเซลล์ไซโทพลาซึม นิวเคลียส แวคิวโอล ไมโทคอนเดรีย และคลอโรพลาสต์
ว 1.2 (ม1/2)  ใช้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงศึกษาเซลล์ และโครงสร้างต่าง ๆ ภายในเซลล์
เซลล์เป็นหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตบางชนิดมีเซลล์เพียง เซลล์เดียว เช่น อะมีบา พารามีเซียม ยีสต์ บางชนิดมีหลายเซลล์ เช่น พืช สัตว์
โครงสร้างพื้นฐานที่พบทั้งในเซลล์พืชและเซลล์สัตว์และสามารถ สังเกตได้ด้วยกล้องจุลทรรศน์ใช้แสง ได้แก่ เยื่อหุ้มเซลล์ไซโทพลาซึม และนิวเคลียส โครงสร้างที่พบในเซลล์พืชแต่ไม่พบในเซลล์สัตว์ ได้แก่ ผนังเซลล์และคลอโรพลาสต์
โครงสร้างต่าง ๆ ของเซลล์มีหน้าที่แตกต่างกัน
- ผนังเซลล์ ทำหน้าที่ให้ความแข็งแรงแก่เซลล์
- เยื่อหุ้มเซลล์ ทำหน้าที่ห่อหุ้มเซลล์และควบคุมการลำเลียงสาร เข้าและออกจากเซลล์
- นิวเคลียส ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของเซลล์
 - ไซโทพลาซึม มีออร์แกแนลล์ที่ทำหน้าที่แตกต่างกัน
- แวคิวโอล ทำหน้าที่เก็บน้ำและสารต่าง ๆ
- ไมโทคอนเดรีย ทำหน้าที่เกี่ยวกับการสลายสารอาหารเพื่อให้ ได้พลังงานแก่เซลล์
- คลอโรพลาสต์ เป็นแหล่งที่เกิดการสังเคราะห์ด้วยแสง
3

3
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
- โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
ว 1.2 (ม1/3)  อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างรูปร่าง กับการทำหน้าที่ของเซลล์
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตมีรูปร่าง ลักษณะ ที่หลากหลาย และมีความเหมาะสมกับหน้าที่ของเซลล์นั้น เช่น เซลล์ประสาทส่วนใหญ่ มีเส้นใยประสาทเป็น แขนงยาว นำกระแสประสาทไปยังเซลล์อื่น ๆ ที่ อยู่ไกลออกไป เซลล์ขนราก เป็นเซลล์ผิวของราก ที่มีผนังเซลล์และเยื่อหุ้มเซลล์ยื่นยาวออกมา ลักษณะคล้ายขนเส้นเล็ก ๆ เพื่อเพิ่มพื้นที่ผิวใน การดูดน้ำและธาตุอาหาร
3

4
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
-ระบบของสิ่งมีชีวิต
ว 1.2 (ม1/4)  อธิบายการจัดระบบของสิ่งมีชีวิต โดยเริ่มจาก เซลล์เนื้อเยื่อ อวัยวะ ระบบอวัยวะ จนเป็น สิ่งมีชีวิต
พืชและสัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ มีการจัดระบบโดยเริ่ม จากเซลล์ไปเป็นเนื้อเยื่อ อวัยวะ ระบบอวัยวะ และสิ่งมีชีวิต ตามลำดับ เซลล์หลายเซลล์มารวมกันเป็นเนื้อเยื่อ เนื้อเยื่อ หลายชนิดมารวมกันและทำงานร่วมกันเป็นอวัยวะ อวัยวะต่าง ๆ ทำงานร่วมกันเป็นระบบอวัยวะ ระบบอวัยวะทุกระบบทำงาน ร่วมกันเป็นสิ่งมีชีวิต
2

5
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
-กระบวนการแพร่และ
ออสโมซิส
ว 1.2 (ม1/5) อธิบายกระบวนการแพร่และออสโมซิสจาก หลักฐานเชิงประจักษ์และยกตัวอย่างการแพร่ และออสโมซิสในชีวิตประจำวัน
เซลล์มีการนำสารเข้าสู่เซลล์เพื่อใช้ในกระบวนการ ต่าง ๆ ของเซลล์และมีการขจัดสารบางอย่าง ที่เซลล์ไม่ต้องการออกนอกเซลล์การนำสารเข้า และออกจากเซลล์มีหลายวิธีเช่น การแพร่ เป็นการเคลื่อนที่ของสารจากบริเวณที่มีความ เข้มข้นของสารสูงไปสู่บริเวณที่มีความเข้มข้น ของสารต่ำ ส่วนออสโมซิส เป็นการแพร่ของน้ำ ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์จากด้านที่มีความเข้มข้นของ สารละลายต่ำไปยังด้านที่มีความเข้มข้นของ สารละลายสูงกว่า
2

6

- กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
-ความสำคัญของการสังเคราะห์ด้วยแสง ของพืช
ว 1.2 (ม1/6) ระบุปัจจัยที่จำเป็นในการสังเคราะห์ด้วยแสง และผลผลิตที่เกิดขึ้นจากการสังเคราะห์ด้วยแสง โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์
ว 1.2 (ม1/7)อธิบายความสำคัญของการสังเคราะห์ด้วยแสง ของพืชต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชที่เกิดขึ้นในคลอโรพลาสต์จำเป็นต้องใช้แสงคาร์บอนไดออกไซด์คลอโรฟิลล์และน้ำ ผลผลิตที่ได้จาก การสังเคราะห์ด้วยแสง ได้แก่ น้ำตาลและ แก๊สออกซิเจน
การสังเคราะห์ด้วยแสง เป็นกระบวนการที่สำคัญ ต่อสิ่งมีชีวิต เพราะเป็นกระบวนการเดียว ที่สามารถนำพลังงานแสงมาเปลี่ยนเป็นพลังงาน ในรูปสารประกอบอินทรีย์และเก็บสะสมในรูปแบบ ต่าง ๆ ในโครงสร้างของพืช
3

8
การดำรงชีวิต
ของพืช
-คุณค่าของพืชที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและ สิ่งแวดล้อม
ว 1.2 (ม1/8) ตระหนักในคุณค่าของพืชที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและ สิ่งแวดล้อม โดยการร่วมกันปลูกและดูแลรักษา ต้นไม้ในโรงเรียนและชุมชน
พืชจึงเป็นแหล่ง อาหารและพลังงานที่สำคัญของสิ่งมีชีวิตอื่น นอกจากนี้กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงยังเป็น กระบวนการหลักในการสร้างแก๊สออกซิเจนให้กับ บรรยากาศเพื่อให้สิ่งมีชีวิตอื่น ใช้ในกระบวนการ หายใจ
1

9
10
การดำรงชีวิต
ของพืช
-การลำเลียงสารในไซเล็มและโฟลเอ็ม ของพืช
การดำรงชีวิต
ของพืช
-แผนภาพการลำเลียงสารในไซเล็มและโฟลเอ็ม ของพืช

ว 1.2 (ม1/9) บรรยายลักษณะและหน้าที่ของไซเล็มและ โฟลเอ็ม
ว 1.2 (ม1/10) เขียนแผนภาพที่บรรยายทิศทาง การลำเลียงสารในไซเล็มและโฟลเอ็ม ของพืช

พืชมีไซเล็มและโฟลเอ็ม ซึ่งเป็นเนื้อเยื่อ มีลักษณะคล้ายท่อเรียงตัวกันเป็นกลุ่มเฉพาะที่ โดย
-ไซเล็มทำหน้าที่ลำเลียงน้ำและธาตุอาหาร
-โฟลเอ็มทำหน้าที่ ลำเลียงอาหารที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสง
พืชมีไซเล็มและโฟลเอ็ม ซึ่งเป็นเนื้อเยื่อ มีลักษณะคล้ายท่อเรียงตัวกันเป็นกลุ่มเฉพาะที่
-ไซเล็มทำหน้าที่ลำเลียงน้ำและธาตุอาหาร มีทิศทางลำเลียงจากรากไปสู่ลำต้น ใบ และ ส่วนต่างๆของพืช
-ส่วนโฟลเอ็มทำหน้าที่ ลำเลียงอาหารที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสง มีทิศทางลำเลียงจากบริเวณที่มีการสังเคราะห์ด้วย แสงไปสู่ส่วนต่าง ๆ ของพืช
2
1

11
การดำรงชีวิต
ของพืช
- การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ และ ไม่อาศัยเพศของพืชดอก
ลักษณะโครงสร้างของดอก
- ถ่ายเรณูของพืชดอก
ว 1.2 (ม1/11) อธิบายการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ และ ไม่อาศัยเพศของพืชดอก
ว 1.2 (ม1/12)  อธิบายลักษณะโครงสร้างของดอกที่มีส่วน ทำให้เกิดการถ่ายเรณูรวมทั้งบรรยาย การปฏิสนธิของพืชดอก การเกิดผลและเมล็ด การกระจายเมล็ด และการงอกของเมล็ด
ว 1.2 (ม1/13) ตระหนักถึงความสำคัญของสัตว์ที่ช่วยในการ ถ่ายเรณูของพืชดอก โดยการไม่ทำลายชีวิต ของสัตว์ที่ช่วยในการถ่ายเรณู
พืชดอกทุกชนิดสามารถสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศได้ และบางชนิดสามารถสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศเป็นการสืบพันธุ์ที่มีการ ผสมกันของสเปิร์มกับเซลล์ไข่การสืบพันธุ์ แบบอาศัยเพศของพืชดอกเกิดขึ้นที่ดอกโดยภายใน อับเรณูของส่วนเกสรเพศผู้มีเรณูซึ่งทำหน้าที่ สร้างสเปิร์ม ภายในออวุลของส่วนเกสรเพศเมีย มีถุงเอ็มบริโอ ทำหน้าที่สร้างเซลล์ไข่
ลักษณะและโครงสร้างของดอก เช่น สีของ กลีบดอก ตำแหน่งของเกสรเพศผู้และเกสรเพศ เมีย โดยมีสิ่งที่ช่วยในการถ่ายเรณูเช่น แมลง ลม

2





ลักษณะและโครงสร้างของดอก เช่น สีของ กลีบดอก ตำแหน่งของเกสรเพศผู้และเกสรเพศ เมีย โดยมีสิ่งที่ช่วยในการถ่ายเรณูเช่น แมลง ลม
การถ่ายเรณูจะนำไปสู่การปฏิสนธิซึ่งจะเกิดขึ้นที่ ถุงเอ็มบริโอภายในออวุล หลังการปฏิสนธิจะได้ ไซโกต และเอนโดสเปิร์ม ไซโกตจะพัฒนาต่อไป เป็นเอ็มบริโอ ออวุลพัฒนาไปเป็นเมล็ด และรังไข่ พัฒนาไปเป็นผล
ผลและเมล็ดมีการกระจายออกจากต้นเดิม โดย วิธีการต่าง ๆ เมื่อเมล็ดไปตกในสภาพแวดล้อมที่ เหมาะสมจะเกิดการงอกของเมล็ด โดยเอ็มบริโอ ภายในเมล็ดจะเจริญออกมา โดยระยะแรก จะอาศัยอาหารที่สะสมภายในเมล็ด จนกระทั่ง ใบแท้พัฒนา จนสามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้ เต็มที่และสร้างอาหารได้เองตามปกต
การถ่ายเรณูคือ การเคลื่อนย้ายของเรณูจาก อับเรณูไปยังยอดเกสรเพศเมีย ซึ่งเกี่ยวข้องกับ ลักษณะและโครงสร้างของดอก เช่น สีของ กลีบดอก ตำแหน่งของเกสรเพศผู้และเกสรเพศ เมีย โดยมีสิ่งที่ช่วยในการถ่ายเรณูเช่น แมลง ลม
 การถ่ายเรณูจะนำไปสู่การปฏิสนธิซึ่งจะเกิดขึ้นที่ ถุงเอ็มบริโอภายในออวุล หลังการปฏิสนธิจะได้ ไซโกต และเอนโดสเปิร์ม ไซโกตจะพัฒนาต่อไป เป็นเอ็มบริโอ ออวุลพัฒนาไปเป็นเมล็ด และรังไข่ พัฒนาไปเป็นผล
1
1



การดำรงชีวิต
ของพืช
-ธาตุอาหารของพืช
-ปุ๋ย

ว 1.2 (ม1/14)  อธิบายความสำคัญของธาตุอาหาร บางชนิดที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและการดำรงชีวิตของพืช
ว 1.2 (ม1/15) เลือกใช้ปุ๋ยที่มีธาตุอาหารเหมาะสมกับพืชใน สถานการณ์ที่กำหนด
พืชต้องการธาตุอาหารที่จำเป็นหลายชนิดในการเจริญเติบโต และการดำรงชีวิตพืชต้องการธาตุอาหารบางชนิดในปริมาณมาก ได้แก่ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม แมกนีเซียม และกำมะถัน ซึ่งในดินอาจมีไม่เพียงพอสำหรับการเจริญเติบโตของพืช จึงต้อง มีการให้ธาตุอาหารในรูปของปุ๋ยกับพืชอย่างเหมาะสม
2

1

16
การดำรงชีวิต
ของพืช
-การขยายพันธุ์พืช
ว 1.2 (ม1/16) เลือกวิธีการขยายพันธุ์พืชให้เหมาะสมกับ ความต้องการของมนุษย์โดยใช้ความรู้ เกี่ยวกับการสืบพันธุ์ของพืช




มนุษย์สามารถนำความรู้เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศและ ไม่อาศัยเพศ มาใช้ในการขยายพันธุ์เพื่อเพิ่มจำนวนพืช เช่น การใช้เมล็ดที่ได้จากการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศมาเพาะเลี้ยง วิธีการนี้จะได้พืชในปริมาณมาก แต่อาจมีลักษณะที่แตกต่างไป จากพ่อแม่ ส่วนการตอนกิ่ง การปักชำ การต่อกิ่ง การติดตา การทาบกิ่ง การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เป็นการนำความรู้เรื่อง การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชมาใช้ในการขยายพันธุ์ เพื่อให้ได้พืชที่มีลักษณะเหมือนต้นเดิม ซึ่งการขยายพันธุ์แต่ละ วิธีมีหลักการแตกต่างกัน จึงควรเลือกให้เหมาะสมกับความต้องการ ของมนุษย์ โดยต้องคำนึงถึงชนิดของพืชและลักษณะการสืบพันธุ์ ของพืชเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช เป็นการนำความรู้เกี่ยวกับ ปัจจัยที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืชมาใช้ในการเพิ่มจำนวน พืชและทำให้พืชสามารถเจริญเติบโตได้ในหลอดทดลอง ซึ่งจะได้ พืชจำนวนมากในระยะเวลาสั้น และสามารถนำเทคโนโลยี การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อมาประยุกต์เพื่อการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ปรับปรุงพันธุ์พืชที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ การผลิตยาและ สารสำคัญในพืช และอื่น ๆ
1

17
18
การดำรงชีวิต
ของพืช
-เทคโนโลยี การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
การดำรงชีวิต
ของพืช
-ประโยชน์ของการขยายพันธุ์พืช
ว 1.2 (ม1/17) อธิบายความสำคัญของเทคโนโลยี การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชในการใช้ประโยชน์ ด้านต่าง ๆ
ว 1.2 (ม1/18) ตระหนักถึงประโยชน์ของการขยายพันธุ์พืช โดยการนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เป็นการนำความรู้เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชมาใช้ในการขยายพันธุ์ เพื่อให้ได้พืชที่มีลักษณะเหมือนต้นเดิม ซึ่งการขยายพันธุ์ แต่ละวิธีมีขั้นตอนแตกต่างกัน จึงควรเลือกให้ เหมาะสมกับความต้องการของมนุษย์โดยต้อง คำนึงถึงชนิดของพืชและลักษณะการสืบพันธุ์ ของพืช
การขยายพันธุ์ แต่ละวิธีมีขั้นตอนแตกต่างกัน จึงควรเลือกให้ เหมาะสมกับความต้องการของมนุษย์โดยต้อง คำนึงถึงชนิดของพืชและลักษณะการสืบพันธุ์ ของพืชเพื่อการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ปรับปรุงพันธุ์พืช ที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจการผลิตยาและ สารสำคัญในพืช และอื่น ๆ
1
1

สอบกลางภาค
3

19
สมบัติทางกายภาพบาง ประการของธาตุโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ
2.1  (ม1/1)  อธิบายสมบัติ ทางกายภาพบาง ประการของธาตุ โลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ โดย ใช้หลักฐานเชิง ประจักษ์ที่ได้จาก การสังเกตและ การทดสอบ และ ใช้สารสนเทศที่ ได้จากแหล่งข้อมูล ต่าง ๆ รวมทั้งจัด กลุ่มธาตุเป็น โลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ
ธาตุโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ ที่สามารถแผ่รังสีได้ จัดเป็นธาตุ กัมมันตรังสีธาตุมีทั้งประโยชน์และโทษ การใช้ธาตุโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ ธาตุกัมมันตรังสี ควรคำนึงถึงผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิต สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและสังคม

3

20
ธาตุโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ
2.1  (ม1/2)  วิเคราะห์ผลจาก การใช้ธาตุโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ และธาตุ กัมมันตรังสี ที่มี ต่อสิ่งมีชีวิต สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและ สังคม จากข้อมูล ที่รวบรวมได้
ธาตุโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ ที่สามารถแผ่รังสีได้ จัดเป็นธาตุกัมมันตรังสี

3

21
ประโยชน์และโทษ การใช้ธาตุโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ
2.1  (ม1/3)  ตระหนักถึง คุณค่าของการใช้ ธาตุโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ ธาตุ กัมมันตรังสี โดย เสนอแนวทาง การใช้ธาตุอย่าง ปลอดภัย คุ้มค่า
ธาตุมีทั้งประโยชน์และโทษ การใช้ธาตุโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ ธาตุกัมมันตรังสีควรคำนึงถึง ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิต สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคม
3

22

2.1  (ม1/4) เปรียบเทียบ จุดเดือด จุด หลอมเหลวของสารบริสุทธิ์และ สารผสม โดยการ วัดอุณหภูมิ เขียน กราฟ แปล ความหมาย ข้อมูลจากกราฟ หรือสารสนเทศ
สารบริสุทธิ์ประกอบด้วยสารเพียงชนิดเดียว ส่วนสารผสม-ประกอบด้วยสารตั้งแต่ ๒ ชนิด ขึ้นไป สารบริสุทธิ์แต่ละชนิดมีสมบัติบางประการ ที่เป็นค่าเฉพาะตัว เช่น จุดเดือดและ จุดหลอมเหลวคงที่แต่สารผสมมีจุดเดือด และจุดหลอมเหลวไม่คงที่ขึ้นอยู่กับชนิดและ สัดส่วนของสารที่ผสมอยู่ด้วยกัน
3

23
ความหนาแน่น ของสารบริสุทธิ์ และสารผสม
2.1  (ม1/5)  อธิบายและ เปรียบเทียบ ความหนาแน่น ของสารบริสุทธิ์ และสารผสม
สารบริสุทธิ์แต่ละชนิดมีความหนาแน่น หรือ มวลต่อหนึ่งหน่วยปริมาตรคงที่ เป็นค่าเฉพาะ ของสารนั้น ณ สถานะและอุณหภูมิหนึ่ง แต่สารผสมมีความหนาแน่นไม่คงที่ขึ้นอยู่กับชนิด และสัดส่วนของสารที่ผสมอยู่ด้วยกัน
3

24
เครื่องมือเพื่อ วัดมวลและ ปริมาตรของสาร บริสุทธิ์และสารผสม
2.1  (ม1/6)  ใช้เครื่องมือเพื่อ วัดมวลและ ปริมาตรของสาร บริสุทธิ์และสารผสม
การเลือกใช้เครื่องมือเพื่อวัดมวลและ ปริมาตรของสาร บริสุทธิ์และสารผสมแต่ละชนิดที่มีความหนาแน่น หรือ มวลต่อหนึ่งหน่วยปริมาตรคงที่ เป็นค่าเฉพาะ ของสารนั้นณ สถานะและอุณหภูมิหนึ่ง แต่สารผสมมีความหนาแน่นไม่คงที่ขึ้นอยู่กับชนิด และสัดส่วนของสารที่ผสมอยู่ด้วยกัน
3

25
อะตอม ธาตุ และ สารประกอบ
2.1  (ม1/7)อธิบายเกี่ยวกับ ความสัมพันธ์ ระหว่างอะตอม ธาตุ และ สารประกอบ โดยใช้ แบบจำลองและ สารสนเทศ
สารบริสุทธิ์แบ่งออกเป็นธาตุและสารประกอบ ธาตุประกอบด้วยอนุภาคที่เล็กที่สุดที่ยังแสดง สมบัติของธาตุนั้นเรียกว่า อะตอม ธาตุแต่ละชนิด ประกอบด้วยอะตอมเพียงชนิดเดียวและไม่ สามารถแยกสลายเป็นสารอื่นได้ด้วยวิธีทางเคมี ธาตุเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ธาตุสารประกอบ เกิดจากอะตอมของธาตุตั้งแต่ ๒ ชนิดขึ้นไป รวมตัวกันทางเคมีในอัตราส่วนคงที่ มีสมบัติ แตกต่างจากธาตุที่เป็นองค์ประกอบ สามารถ แยกเป็นธาตุได้ด้วยวิธีทางเคมีธาตุและ สารประกอบสามารถเขียนแทนได้ด้วยสูตรเคมี
3

26
โครงสร้างอะตอม
2.1  (ม1/8)  อธิบายโครงสร้างอะตอมที่ประกอบด้วย โปรตอน นิวตรอนและอิเล็กตรอน โดยใช้แบบจำลอง
อะตอมประกอบด้วยโปรตอน นิวตรอน และ อิเล็กตรอน โปรตอนมีประจุไฟฟ้าบวก ธาตุ ชนิดเดียวกันมีจำนวนโปรตอนเท่ากันและเป็น ค่าเฉพาะของธาตุนั้น นิวตรอนเป็นกลางทางไฟฟ้า ส่วนอิเล็กตรอนมีประจุไฟฟ้าลบ เมื่ออะตอม มีจำนวนโปรตอนเท่ากับจำนวนอิเล็กตรอน จะเป็นกลางทางไฟฟ้า โปรตอนและนิวตรอน รวมกันตรงกลางอะตอมเรียกว่า นิวเคลียส ส่วนอิเล็กตรอนเคลื่อนที่อยู่ในที่ว่างรอบนิวเคลียส
3

27
อนุภาคของสาร
2.1  (ม1/9) อธิบายและ เปรียบเทียบการ จัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหนี่ยว ระหว่างอนุภาค และการเคลื่อนที่ของอนุภาคของ สสารชนิด เดียวกันใน สถานะของแข็ง ของเหลว และ แก๊ส โดยใช้ แบบจำลอง

สสารทุกชนิดประกอบด้วยอนุภาค โดยสาร ชนิดเดียวกันที่มีสถานะของแข็ง ของเหลว แก๊ส จะมีการจัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหนี่ยวระหว่าง อนุภาคการเคลื่อนที่ของอนุภาคแตกต่างกัน ซึ่งมีผลต่อรูปร่างและปริมาตรของสสาร
อนุภาคของของแข็งเรียงชิดกัน มีแรงยึดเหนี่ยว ระหว่างอนุภาคมากที่สุด อนุภาคสั่นอยู่กับที่ ทำให้มีรูปร่างและปริมาตรคงที่
อนุภาคของของเหลวอยู่ใกล้กัน มีแรงยึดเหนี่ยว ระหว่างอนุภาคน้อยกว่าของแข็งแต่มากกว่าแก๊ส อนุภาคเคลื่อนที่ได้แต่ไม่เป็นอิสระเท่าแก๊ส ทำให้ มีรูปร่างไม่คงที่แต่ปริมาตรคงที่
อนุภาคของแก๊สอยู่ห่างกันมาก มีแรงยึดเหนี่ยว ระหว่างอนุภาคน้อยที่สุด อนุภาคเคลื่อนที่ได้ อย่างอิสระทุกทิศทาง ทำให้มีรูปร่างและปริมาตร ไม่คงท
3

28
พลังงานความร้อนกับการ เปลี่ยนสถานะของ สสาร
2.1  (ม1/10) อธิบาย ความสัมพันธ์ ระหว่างพลังงานความร้อนกับการ เปลี่ยนสถานะของ สสาร โดยใช้ หลักฐานเชิง ประจักษ์และ แบบจำลอง

ความร้อนมีผลต่อการเปลี่ยนสถานะของสสาร เมื่อให้ความร้อนแก่ของแข็ง อนุภาคของของแข็ง จะมีพลังงานและอุณหภูมิเพิ่มขึ้นจนถึงระดับหนึ่ง ซึ่งของแข็งจะใช้ความร้อนในการเปลี่ยนสถานะ เป็นของเหลว เรียกความร้อนที่ใช้ในการเปลี่ยน สถานะจากของแข็งเป็นของเหลวว่าความร้อนแฝง ของการหลอมเหลว และอุณหภูมิขณะ เปลี่ยนสถานะจะคงที่ เรียกอุณหภูมินี้ว่า จุดหลอมเหลวเมื่อให้ความร้อนแก่ของเหลวอนุภาคของของเหลว จะมีพลังงานและอุณหภูมิเพิ่มขึ้นจนถึงระดับหนึ่ง ซึ่งของเหลวจะใช้ความร้อนในการเปลี่ยนสถานะ เป็นแก๊ส เรียกความร้อนที่ใช้ในการเปลี่ยนสถานะ จากของเหลวเป็นแก๊สว่า ความร้อนแฝงของ การกลายเป็นไอ และอุณหภูมิขณะเปลี่ยนสถานะ จะคงที่ เรียกอุณหภูมินี้ว่า จุดเดือดเมื่อทำให้อุณหภูมิของแก๊สลดลงจนถึงระดับหนึ่ง แก๊สจะเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว เรียกอุณหภูมิ นี้ว่า จุดควบแน่น ซึ่งมีอุณหภูมิเดียวกับจุดเดือด ของของเหลวนั้นเมื่อทำให้อุณหภูมิของของเหลวลดลงจนถึง ระดับหนึ่ง ของเหลวจะเปลี่ยนสถานะเป็นของแข็ง เรียกอุณหภูมินี้ว่า จุดเยือกแข็ง ซึ่งมีอุณหภูมิ เดียวกับจุดหลอมเหลวของของแข็งนั้น
3

สอบปลายภาค
3

รวม
60

อัตราส่วนคะแนน
คะแนนเก็บระหว่างภาค  :   คะแนนปลายภาค      =   70.   :    30
                   K     :     P     :     A   =   ….   :    ….   :   …..
                                                รวม            100     คะแนน

 คะแนนเก็บก่อนสอบกลางภาค    =     25  คะแนน
                    สอบกลางภาค                      =     20.  คะแนน
 คะแนนเก็บก่อนสอบกลางภาค    =     25  คะแนน
                    สอบปลายภาค                     =     30  คะแนน
รวม            100     คะแนน

  
โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้รายวิชา  วิทยาศาสตร์  รหัสวิชา  ว21101
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1   ภาคเรียนที่  1 ปีการศึกษา 2562
หน่วยที่
ชื่อหน่วย
มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด
สาระสำคัญ
แผน
1
หน่วยที่ 1 เรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร



1
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
ว 1.2 (ม1/1)
ว 1.2 (ม1/2)
ว 1.2 (ม1/3)
ว 1.2 (ม1/4)
ว 1.2 (ม1/5)
ว 1.2 (ม1/6)






นิวเคลียส ไซโทพลาซึม และเยื่อหุ้มเซลล์เป็นส่วนประกอบสำคัญของเซลล์
ที่เหมือนกันของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
ผนังเซลล์ และคลอโรพลาสต์ เป็นส่วนประกอบ ที่พบได้ในเซลล์พืช นิวเคลียส ไซโทพลาซึม เยื่อหุ้มเซลล์ แวคิวโอล  เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของเซลล์สัตว์  มีหน้าที่แตกต่างกัน นิวเคลียสไซโทพลาซึม เยื่อหุ้มเซลล์ แวคิวโอล    ผนังเซลล์ และคลอโรพลาสต์ เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของเซลล์พืช มีหน้าที่แตกต่างกัน การแพร่และออสโมซิส เป็นกระบวนการนำสารผ่านเซลล์

2
การดำรงชีวิต
ของพืช
ว 1.2 (ม1/7)
ว 1.2 (ม1/8)
ว 1.2 (ม1/9)
ว 1.2 (ม1/10)
 ว 1.2 (ม1/11)
ว 1.2 (ม1/12)  
ว 1.2 (ม1/13)
ว 1.2 (ม1/14) 
ว 1.2 (ม1/15) 
ว 1.2 (ม1/16)
ว 1.2 (ม1/17)     ว 1.2 (ม1/18) 
ปัจจัยที่จำเป็นในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงประกอบด้วยแสง คลอโรฟิลล์
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ น้ำ ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชจะได้น้ำตาล แก๊สออกซิเจนและน้ำ ซึ่งมีความสำคัญต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม โดยมีเนื้อเยื่อลำเลียงน้ำ และเนื้อเยื่ออาหารเป็นกลุ่มเซลล์ที่อยู่คู่ขนานกัน เป็นท่อลำเลียงจากราก ลำต้น ถึงใบ สิ่งมีชีวิตทุกชนิดจะต้องมีการสืบพันธุ์ เพื่อแพร่พันธุ์ ขยายพันธุ์ เพื่อให้สามารถดำรงเผ่าพันธุ์อยู่ได้ พืชก็เช่นเดียวกันมีการสืบพันธุ์ทั้งแบบอาศัยเพศ และไม่อาศัยเพศ โดยเกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมียเป็นโครงสร้างที่ใช้ในการสืบพันธุ์ของพืชดอกและด้วยเหตุที่สภาพแวดล้อมมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา พืชจึงมีการรับรู้ และตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงนั้น มนุษย์ได้นำเทคโนโลยีชีวภาพมาใช้ในการปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อเพิ่มผลผลิตให้ได้มากขึ้น

18
2
สารและสมบัติของสาร
2.1  (ม1/1)
 2.1 (ม1/2)
2.1 (ม1/3)
2.1 (ม1/4)
2.1 (ม1/5)
  2.1  (ม1/6)
 2.1  (ม1/7)
2.1 (ม1/8)
 2.1 (ม1/9) 
2.1  (ม1/10)   

สมบัติทางกายภาพบางประการเหมือนกันและ บางประการต่างกัน ซึ่งสามารถนำมาจัดกลุ่มธาตุ เป็นโลหะอโลหะและกึ่งโลหะธาตุโลหะมีจุดเดือด จุดหลอมเหลวสูง มีผิวมันวาว นำความร้อน นำไฟฟ้า ดึงเป็นเส้นหรือตีเป็นแผ่นบางๆได้และ มีความหนาแน่นทั้งสูงและต่ำ ธาตุอโลหะ มีจุดเดือด จุดหลอมเหลวต่ำ มีผิวไม่มันวาวไม่นำความร้อน ไม่นำไฟฟ้า เปราะ แตกหักง่าย และมีความหนาแน่นต่ำ ธาตุกึ่งโลหะมีสมบัติ บางประการเหมือนโลหะ และสมบัติบางประการ เหมือนอโลหะ
13
3



12
4

+

12





























หน่วยที่
ตัวชี้วัด
ชื่อหน่วยการเรียนรู้และหัวข้อการเรียนรู้
เวลา(ชั่วโมง)
ภาระงาน
หมายเหตุ
1

1.1       
14
1. แบบฝึกหัด
2. ศึกษาค้นคว้า ตามเวปไซต์
3. ปฏิบัติการทดลอง
4. รายงานผลการทดลอง
5. แบบทดสอบ




ประเมินครั้งที่ 1-2














โครงการสอนรายวิชา........................................
ภาคเรียนที่.......ปีการศึกษา.................ชั้นมัธยมศึกษาปีที่...........   จำนวน........หน่วยกิต  เวลา.......ชั่วโมง

สัปดาห์/
แผนการเรียนรู้ที่
หน่วยการเรียนรู้/เนื้อหา
ตัวชี้วัด/

กิจกรรม /
กระบวนการเรียนรู้
เวลา
(ชั่วโมง)



























เอกสารหมายเลข 10
                                                ข้อตกลงในการวัด-ประเมินผล รายวิชา..........................................
1.              รายละเอียดในการวัด-ประเมินผล
อัตราส่วน  คะแนนระหว่างภาค  :  คะแนนปลายภาค      = ..............  : .......................
อัตราส่วน             คะแนน    K      :       P       :      A         =...........  :  ..........  :  ............
โดยมีรายละเอียดดังนี้
การประเมิน
คะแนน
วิธีวัด
ชนิดของเครื่องมือวัด
ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ข้อที่
เวลาที่ใช้
(นาที/ครั้ง)
ก่อนกลางภาค





กลางภาค





หลังกลางภาค





คุณลักษณะ




ตลอด
ภาคเรียน
ปลายภาค





          รวม
 100   คะแนน
2.              กำหนดภาระงาน
ในการเรียนรายวิชา..........................ได้กำหนดให้นักเรียนทำกิจกรรม/ ปฏิบัติงาน(ชิ้นงาน)........ชิ้น ดังนี้
ที่
ชื่องาน
ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ข้อที่
ประเภทงาน
กำหนดส่ง
วัน/เดือน/ปี
กลุ่ม
เดี่ยว
























                หากนักเรียนขาดส่งงาน...........ชิ้นและมีคะแนนตลอดภาคเรียนไม่ถึง 50 คะแนนจะได้รับผลการเรียน    ในรายวิชานี้

ลงชื่อ........................................ครูประจำวิชา                                ลงชื่อ......................................หัวหน้ากลุ่มสาระฯ
        (.........................................)                                                          (......................................)

ลงชื่อ........................................รอง / ฝ่ายวิชาการ                         ลงชื่อ .....................................ผู้อำนวยการสถานศึกษา            
        ( นายจักรพันธ์  ภาชนะ )                                                                ( นายเลิศชาย   รัตนะ )














ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

โครงงานประเภทการสำรวจ (Survey Research Project)

แนวข้อสอบพร้อมเฉลย วิชาพลังงาน

โครงงานประเภทการพัฒนาหรือการประดิษฐ์ (Developmental Research Project or Invention)