บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กรกฎาคม, 2019

ม.3 ระบบนิเวศชุด2

รูปภาพ
1. ข้อความใดอธิบายความหมายของแหล่งที่อยู่ได้ถูกต้อง 1 กาฝากเกาะอยู่บนต้นมะม่วงเป็นจำนวนมาก 2 ชายคาบ้านหลังหนึ่งมีมดดำ มดแดงเป็นจำนวนมาก 3 นกนางแอ่นอพยพมาอาศัยทำรังอยู่ที่อำเภอบางปู จังหวัดสมุทรปราการ 4 ปลาตีน ปูก้ามดาบ และหอยหลอดชอบอาศัยอยู่ตามป่าชายเลนที่มีต้นโกงกางและอาหารมาก 2. การศึกษาระบบนิเวศในแหล่งน้ำบริเวณโรงเรียน นักเรียนจะศึกษาเรื่องใดได้บ้าง ก สี กลิ่น        ข สิ่งปนเปื้อน      ค ความขุ่นใส         ง กลุ่มสิ่งมีชีวิต จ อุณหภูมิ      ฉ ปริมาณน้ำฝน 1 ก ข ค และ ง                                         2 ก ข จ และ ฉ 3 ก ค ง และ จ                                         4 ก ค จ และ ฉ 3. “ ต้นกุหลาบหน้าบ้านพอใจมีหนอนที่เกิดจากไข่ผีเสื้อมากินใบอ่อนเสมอ และยังพบว่ามีนกมาจิกกินหนอน ซึ่งนกนี้จะถูกแมวที่พอใจเลี้ยงจับกินเสมอ ” จากข้อมูลดังกล่าวสามารถเขียนโซ่อาหารได้แบบใด 1 กุหลาบ           หนอน              นก            แมว 2 แมว             นก            หนอน          กุหลาบ 3 ผีเสื้อ              กุหลาบ          หนอน            นก         แมว 4 กุหลา

,ม.3 ระบบนิเวศ ชุด1

รูปภาพ
1. วัฏจักรของคาร์บอนในธรรมชาตินั้น แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จะถูกนำไปใช้ในกระบวนการใด 1 หายใจ                                                 2 คายน้ำ            3 สังเคราะห์ด้วยแสง                                    4 ย่อยสลายอินทรียสาร 2. วัฏจักรของสารใดที่ ไม่มี การหมุนเวียนสู่บรรยากาศ 1 คาร์บอน                                              2 ไนโตรเจน 3 ฟอสฟอรัส                                             4 คาร์บอนไดออกไซด์ 3. ในระบบนิเวศสิ่งมีชีวิตกลุ่มใดมีบทบาททำให้ “สาร” หมุนเวียนอยู่ตลอดเวลา 1 ผู้ผลิต                                                  2 ผู้บริโภคอันดับ 2 3 ผู้บริโภคอันดับสุดท้าย                                4 ผู้ย่อยสลายอินทรียสาร 4. ถ้าผู้ผลิตหมดไปจากโลกทันทีจะเกิดสิ่งใดขึ้น 1 ไอน้ำและออกซิเจนลดลง                   2 คาร์บอนไดออกไซด์เพิ่มขึ้น แต่ออกซิเจนลดลง 3 ออกซิเจนลดลง แต่คาร์บอนไดออกไซด์ไม่เปลี่ยนแปลง 4 คาร์บอนไดออกไซด์เพิ่มขึ้น แต่ออกซิเจนไม่เปลี่ยนแปลง 5. ถ้าโลกปราศจากการสังเคราะห์ด้วยแสงแล้ว วัฏจักรของสารใดจะเกิดการหมุนเวียน น

ม.3 พันธุกรรม ชุด 2

ใช้สัญลักษณ์ต่อไปนี้ตอบคำถามข้อ 1 –2 กำหนดสัญลักษณ์แทนแอลลีลเด่นและแอลลีลด้อย ดังนี้ T ใช้แทนลักษณะสูง ( แอลลีลเด่น ) t ใช้แทนลักษณะเตี้ย ( แอลลีลด้อย ) 1 . คนที่มีแอลลีล Tt จะมีรูปร่างลักษณะแบบใด 1 สูง                                                     2 เตี้ย 3 สูงปานกลาง                                           4 รูปร่างธรรมดา 2. ถ้าคนที่มีแอลลีล tt จะมีรูปร่างลักษณะแบบใด 1   เตี้ย 2  สูง     3 สูงปานกลาง                                           4 สรุปไม่ได้ 3. ถ้า A เป็นแอลลีลของคนผิวปกติ a เป็น แอลลีลของคนผิวเผือก คน ที่มี แอลลีล Aa จะมีลักษณะสีผิวแบบใด 1 ผิวเผือก                                                2 ผิวเหลือง 3 ผิวดำแดง                                               4 ผิวปกติ 4. ผู้ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งวิชาพันธุศาสตร์คือใคร 1 นิวตัน ชาวอังกฤษ                                      2 เมนเดล ชาวออสเตเรีย 3 รอเบิร์ต ชาวอังกฤษ                               4   เมนเดล ชาวออสเตรีย 5. ลักษณะใด ที่สามารถถ่าย ทอด ไ

ม.3 พันธุกรรม ม 3 ชุด1

1. ยีนหรือหน่วยพันธุกรรมอยู่บริเวณใดของเซลล์ 1 นิวเคลียส                                               2 เยื่อหุ้มเซลล์ 3 ไซโทพลาซึม                                            4 คลอโรพลาสต์ 2 . เซลล์ของสิ่งมีชีวิตชนิดใดมีการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส           1. เซลล์ลำต้นของพืช 2  เซลล์ไข่ของคน                                         3  ละอองเรณูในพืช            4   เซลล์อสุจิของสุนัข                                    3. เซลล์ในร่างกายของมนุษย์คู่ใดมีจำนวน โครโมโซมเป็นครึ่งหนึ่ง 1 อสุจิกับไข่                                              2 ประสาทกับสมอง 3 ผิวหนังกับกล้ามเนื้อ                                   4 ไขกระดูกกับเม็ดเลือดขาว 4. เด็กชายจะมีโครโมโซมคู่ที่ 23 หรือโครโมโซมเพศตามข้อใด 1 XY                                                     2 XX 3 XX และ YY                                           4 XY และ XY 5. โครโมโซมเพศที่ใช้แสดงเพศในเซลล์ไข่คืออะไร 1 X                                                      2 Y 3 XYY