ม.6 ว 6.1 ม.4-6/2 ทดลองเลียนแบบและอธิบายกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรณีภาคของโลก


ว 6.1 ม.4-6/2 ทดลองเลียนแบบและอธิบายกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรณีภาคของโลก
9.กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรณีภาคของโลกมีสาเหตุมาจากข้อใด (ว 6.1 ม.4-6/2)   
     1. เกิดแนวชั้นหินที่ไม่ต่อเนื่อง                       2. แผ่นดินไหวและภูเขาไฟปะทุ 
     3. การเคลื่อนตัวของแผ่นเปลือกโลก                4. อุณหภูมิและความกดดันภายในโลก
10. ชั้นเนื้อโลกที่เป็นชั้นถัดลงมาจากชั้นเปลือกโลกมีลักษณะสำคัญอย่างไร (ว 6.1 ม.4-6/2)       
          1. เป็นของเหลวหนืดร้อนหลอมเหลวอยู่ภายใน       
          2. เป็นของแข็งที่มีความร้อนและความหนาแน่นสูงมาก
          3. เป็นของแข็งและของเหลวหนืดประกอบด้วยซิลิเกตของเหล็ก
          4. มีอุณหภูมิสูงกว่าชั้นอื่น ๆ ทำให้สสารอยู่ในสภาพที่เป็นของเหลวร้อน
11.  จากข้อมูลต่อไปนี้
        ก. การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก        ข. รอยต่อและรอยแยกของแผ่นเปลือกโลก
        ค. อายุโลก                                                 ง. การค้นพบซากดึกดำบรรพ์ 
        จ. การเปลี่ยนแปลงของอากาศที่ทำให้เกิดการสะสมตัวของตะกอน   
        ฉ. ภาวะแม่เหล็กบรรพกาล
ข้อใดที่สามารถใช้เป็นหลักฐานที่สนับสนุนว่าโลกมีกระบวนการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา          (ว 6.1 ม.4-6/2)       
       1. ก                                2. ข  
       3. ค                                4. ง
12.   ชั้นใดของโครงสร้างโลกที่เป็นแหล่งแร่มหาศาลสำหรับใช้ในอุตสาหกรรม (ว 6.1 ม.4-6/2)       
       1. ชั้นเปลือกโลก                                       2. ชั้นเนื้อโลก    
       3. แก่นโลกชั้นนอก                                     4. แก่นโลกชั้นใน
13.  ข้อใดเป็นลักษณะพิเศษของชั้นฐานธรณีภาค (ว 6.1 ม.4-6/2)        
       1. มีสภาพเป็นพลาสติก (plastic)                      2. มีสภาพยืดหยุ่น (elastic)
       3. มีสภาพเป็นไดนามิก (dynamic)                    4. เป็นชั้นที่อยู่ใต้เนื้อโลกส่วนล่าง
14.  การเคลื่อนตัวของแผ่นเปลือกโลกก่อให้เกิดแรงเครียดสะสมภายในแผ่นเปลือกโลก ซึ่งจะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกที่เรียกว่า “แรงเทคโทนิก” ซึ่งประกอบด้วยแรงในข้อใด (ว 6.1 ม.4-6/2)       
       1. แรงเค้นดึงและแรงเค้นอัด                  2. แรงเค้นเฉือนและแรงเค้นอัด
       3. แรงเค้นดึงและแรงเค้นเฉือน                4. แรงเค้นอัด แรงเค้นดึง และแรงเค้นเฉือน

15.  แก่นโลกชั้นในประกอบด้วยธาตุใดเป็นส่วนใหญ่ (ว 6.1 ม.4-6/2)       
       1. ซิลิกาและเหล็กออกไซด์                      2. เหล็กและนิกเกิล
       3. ฟลูออไรต์และเหล็ก                           4. เหล็ก ทองแดง และนิกเกิล
16.  ในอดีต นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าแผ่นเปลือกโลกเป็นแผ่นเดียวขนาดใหญ่ ต่อมามีการเคลื่อนตัวออกจากกันเป็น 2 แผ่นใหญ่  ข้อใดต่อไปนี้ที่ระบุการแยกตัวออกจากกันของแผ่นเปลือกโลกขนาดใหญ่ได้ถูกต้อง (ว 6.1 ม.4-6/2)       
       1. แผ่นลอเรนเซียเคลื่อนที่ไปทางตอนใต้                    
       2. แผ่นลอเรนเซียเคลื่อนที่ไปทางตอนเหนือ
       3. แผ่นกอนด์วานาเคลื่อนที่ไปทางตอนเหนือ             
       4. แผ่นกอนด์วานาและแผ่นลอเรนเซียเคลื่อนที่ติดไปด้วยกัน
17.  นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าแผ่นเปลือกโลกในอดีตเป็นแผ่นเดียวกัน เมื่อ 225 ล้านปีก่อน ต่อมาอีก 25 ล้านปี จึงแยกออกจากกันอีก 65 ล้านปีต่อมา แผ่นแอนตาร์กติกและออเตรเลียจึงเลื่อนแยกออกมาจากแผ่นกอนด์วานา และแยกออกมาจนอยู่ในสภาพปัจจุบัน ระยะเวลาที่แผ่นเปลือกโลกเคลื่อนตัวจนอยู่ในสภาพปัจจุบันใช้เวลาเท่าใด (ว 6.1 ม.4-6/2)           
       1. 225 ล้านปี                                2. 315 ล้านปี                        
       3. 340 ล้านปี                                 4. 430  ล้านปี             
18.  ข้อใดแสดงการเกิดเทือกเขาหิมาลัยได้ใกล้เคียงกับแนวคิดของนักวิทยาศาสตร์มากที่สุด  (ว 6.1 ม.4-6/2)       
       1. แผ่นอินเดียเลื่อนชนขอบแผ่นยูเรเซียแบบเฉือนแล้วมุดลงใต้ขอบเกิดเทือกเขา
       2. แผ่นอินเดียเลื่อนชนขอบแผ่นยูเรเซียแบบเฉือนทำให้เกิดเทือกเขาเป็นแนวยาว
       3. แผ่นอินเดียเลื่อนชนมุดดันลงใต้แผ่นยูเรเซียแล้วดันให้ลอยขึ้นจนเกิดเทือกเขา
       4. แผ่นอินเดียเลื่อนชนดันกับแผ่นยูเรเซียทำให้เกิดเทือกเขาตามแนวขอบแผ่นที่ชนกัน
19.  ทฤษฎีการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก (plate tectonic) เกิดจากแนวคิดในข้อใด
(ว 6.1 ม.4-6/2)       
          1. ทวีปเลื่อนและการขยายตัวของพื้นมหาสมุทร               
2. หุบเขาทรุดและการขยายตัวของพื้นมหาสมุทร
          3. การพยุงตัวของแผ่นเปลือกโลกกับแผ่นทวีปเลื่อน         
4. การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นบนพื้นผิวโลกและใต้เปลือกโลก
20.  รอยต่อของขอบแผ่นเปลือกโลกสามารถอธิบายได้จากการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลกในข้อใด (ว 6.1 ม.4-6/2)       
       1. การชนกัน แยกจากกัน และผ่านกัน                2. การมุดตัว การยกตัว และการแทรกตัว
       3. การลอยตัว การทรงตัว และการจมลง             4. การชนกัน การมุดตัว และการทรงตัว
21. แนวคิดหรือสมมุติฐานที่ยอมรับเป็นทฤษฎีแล้วว่า ปัจจัยที่ทำให้เปลือกโลกเคลื่อนที่คือข้อใด (ว 6.1 ม.4-6/2)       
       1. การแผ่รังสีความร้อนภายใต้แก่นโลก              
       2. กระแสการพาความร้อนในชั้นเนื้อโลก
       3. กระแสการนำความร้อนภายในชั้นธรณีภาค         
       4. การเคลื่อนที่ของพลังงานความร้อนใต้ชั้นฐานธรณีภาค
22. เมื่อสังเกตแผนที่ภาพถ่ายจากดาวเทียมจะพบแนวเทือกเขากลางมหาสมุทรเป็นแนวยาวชัดเจนได้ในบริเวณใดบ้าง (ว 6.1  ม.4-6/2)           
       1. กลางมหาสมุทรแปซิฟิก                         2. กลางมหาสมุทรแอตแลนติก
       3. กลางมหาสมุทรแอนตาร์กติก                  4. แนวขอบชายฝั่งทวีปอเมริกาใต้ด้านตะวันออก23.  ข้อใดต่างจากพวก (ว 6.1 ม.4-6/2)       
       1. มีโซซอรัส                                    2. กลอสซอพเทอริส                  
       3. ไลสตรอโซรัส                                4. ไซโนนาทัส
24.   นักวิทยาศาสตร์ศึกษาสภาพของชั้นแก่นโลก พบว่ามีการเคลื่อนที่ของสารละลายเหล็กเหลวภายในชั้นนอกของแก่นโลก ซึ่งการเคลื่อนตัวของของเหลวร้อนนี้ทำให้เกิดสิ่งใด
(ว 6.1 ม.4-6/2)      
       1. การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลกตลอดเวลา    
       2. การปะทุของภูเขาไฟและการเกิดหินอัคนี                        
       3. ปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้บริเวณขั้วโลกเหนือและขั้วโลกใต้
       4. สนามแม่เหล็กที่ห่อหุ้มโลกให้พ้นอันตรายจากรังสีต่าง ๆ จากนอกโลก
25.  การที่แผ่นเปลือกโลก (1) เคลื่อนที่เข้าชนแผ่นเปลือกโลก (2) และแผ่นเปลือกโลก (1) มุดตัวเข้าสู่ใต้แผ่นเปลือกโลก (2)          ข้อใดอธิบายปรากฏการณ์นี้ได้ถูกต้อง (ว 6.1 ม.4-6/2)       
       1. แผ่นเปลือกโลก (1) มีความหนาน้อยกว่าแผ่นเปลือกโลก (2)        
       2. แผ่นเปลือกโลก (1) มีความหนามากกว่าแผ่นเปลือกโลก (2)
       3. แผ่นเปลือกโลก (1) เป็นแผ่นพื้นทวีป แผ่นเปลือกโลก (2) เป็นแผ่นพื้นมหาสมุทร              
       4.  ข้อ 1 และ 3 ถูกต้อง
26.  แนวรอยเลื่อนที่ปรากฏขึ้นตามแผนที่แสดงพื้นที่เสี่ยงภัยต่อการเกิดแผ่นดินไหวของประเทศไทยที่มีทั้งในภาคเหนือ ภาคตะวันตก และภาคใต้นั้น เมื่อพิจารณาถึงแนวรอยเลื่อนที่เกิดขึ้น รอยเลื่อนในข้อใดที่มีแนวโน้มต่อเนื่องจากภาคเหนือลงมาสู่ภาคกลาง (ว 6.1 ม.4-6/2)       
       1. รอยเลื่อนแม่ทา รอยเลื่อนแม่ปิง และรอยเลื่อนแกลง                   
       2. รอยเลื่อนแม่สะเรียง รอยเลื่อนแม่ปิง และรอยเลื่อนแกลง
       3. รอยเลื่อนน้ำปาด รอยเลื่อนเพชรบูรณ์ และรอยเลื่อนระนอง    
       4. รอยเลื่อนศรีสวัสดิ์ รอยเลื่อนด่านเจดีย์สามองค์ และรอยเลื่อนแกลง

ความคิดเห็น

  1. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
  2. นายชาญชัย มณีทอง

    ตอบลบ
  3. สมปอง. แก้วภูมิแห่

    ตอบลบ
  4. นายทิน​ภัทร​ เมือง​มาก​

    ตอบลบ
  5. นางส่วปิยาอร บัวน่วม

    ตอบลบ
  6. นางสาวชุติมา อรุณรัตน์

    ตอบลบ
  7. นายพงษ์ศักดิ์ จงกรด

    ตอบลบ
  8. นายชัชวาล พรมกลาง

    ตอบลบ
  9. นางสาวอัญชลี โยธี

    ตอบลบ
  10. นางสาวแพรวพรรณ ศิริจันทร์

    ตอบลบ
  11. นางสาวอธิติยา สาทิพจันทร์

    ตอบลบ
  12. นางสาวนืตยา ยิ่งเหมาะ

    ตอบลบ
  13. นางสาวจิรสุตา โคเเก้ว

    ตอบลบ
  14. นายสุวรรณ ดาวดายรัมย์

    ตอบลบ
  15. นายอดิศรณ์ สะเดา

    ตอบลบ
  16. ปรเมษฐ์ ลือปัญญา 12/07/62

    ตอบลบ
  17. นางสาวปิยาอร บัวน่วม 12.07.62

    ตอบลบ
  18. สมปอง แก้วภูมิแห่ 12/07/62

    ตอบลบ
  19. นายชาญชัย มณีทอง 12/07/62

    ตอบลบ
  20. มยุเรศ เชียงแมน12.7.62

    ตอบลบ
  21. นายเอกพัฒน์ งาทดี 12/07/62

    ตอบลบ
  22. นายพีระวัฒน์ ผาสนุก 12/07/62

    ตอบลบ
  23. นายอดิศรณ์ สะเดา 12/07/62

    ตอบลบ
  24. 12/7/2562
    น.ส.พรอุมา ฉงอนรัมย์

    ตอบลบ
  25. นายปิยณัฐ ศรีพลัง 12/07/62

    ตอบลบ
  26. นายพงศธร โตนไธสง 12/7/2562

    ตอบลบ
  27. 12/7/2562
    นายสุวรรณ ดาวดายรัมย์

    ตอบลบ
  28. นายชัชวาล พรมกลาง12/07/62

    ตอบลบ
  29. นางสาวอธิติยา สาทิพจันทร์
    12/7/62

    ตอบลบ
  30. นางสาวอธิติยา สาทิพจันทร์
    12/7/62

    ตอบลบ
  31. นางสาวชุติมา อรุณรัตน์ 12/07/62

    ตอบลบ
  32. นางสาวอัญชลี โยธี 12/07/62

    ตอบลบ

แสดงความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

โครงงานประเภทการสำรวจ (Survey Research Project)

แนวข้อสอบพร้อมเฉลย วิชาพลังงาน

โครงงานประเภทการพัฒนาหรือการประดิษฐ์ (Developmental Research Project or Invention)