คำอธิบายรายวิชา
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
รหัส ว21101
หน่วยกิต
1.5
หน่วยกิต เวลา
60 ชั่วโมง
ภาคเรียนที่
1
ปีการศึกษา
2562
ตรงตามตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560 )
………………………………………………………………………………………………………………
ศึกษาวิเคราะห์
และเข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต เซลล์ ส่วนประกอบ
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
การแพร่ของสารเข้าสู่เซลล์
การลำเลียงสารเข้า และออกจากเซลล์
การสังเคราะห์ด้วยแสง
กลุ่มเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช การสืบพันธุ์ของพืชทั้งอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ การตอบสนองของพืชต่อ แสง
น้ำ และการสัมผัส
หลักการความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทำงานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
และผลการใช้เทคโนโลยีในการขยายพันธุ์
ปรับปรุงพันธุ์ เพิ่มผลผลิตพืช
การจำแนกสาร ความเป็นกรด-เบส ความเข้มข้นของสารละลาย
และการเปลี่ยนแปลงของสาร
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ
การสืบค้นข้อมูล และการอภิปราย
เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด
ความเข้าใจสามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน
มีจิตวิทยาศาสตร์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัยใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน และมีจิตสาธารณะ
ตัวชี้วัด
ว
1.2 (ม1/1) ว 1.2 (ม1/2) ว 1.2
(ม1/3) ว 1.2 (ม1/4) ว 1.2 (ม1/5)ว 1.2 (ม1/6) ว 1.2 (ม1/7)
ว
1.2 (ม1/8) ว 1.2 (ม1/9) ว 1.2
(ม1/10) ว 1.2 (ม1/11) ว 1.2 (ม1/12) ว 1.2 (ม1/13) )
ว
1.2 (ม1/14)
) ว 1.2 (ม1/15) ว 1.2 (ม1/6) ว
1.2 (ม1/16) ว 1.2 (ม1/17) ) ว 1.2 (ม1/18)
ว
2.1
(ม1/1) ว 2.1 (ม1/2) ว 2.1 (ม1/3) ว 2.1
(ม1/4) ว 2.1 (ม1/5) ว
2.1 (ม1/6) ว
2.1 (ม1/7)
ว
2.1 (ม1/8) ว 2.1 (ม1/9) ว 2.1 (ม1/10)
สาระที่
1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต
หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารเข้า และออกจากเซลล์
ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทำงานสัมพันธ์กัน
ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทำงานสัมพันธ์กัน
รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ว 1.2 (ม1/1) เปรียบเทียบรูปร่าง
ลักษณะ และโครงสร้าง ของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์รวมทั้งบรรยายหน้าที่ ของผนังเซลล์เยื่อหุ้มเซลล์ไซโทพลาซึม
นิวเคลียส แวคิวโอล ไมโทคอนเดรีย และ
คลอโรพลาสต์
ว 1.2 (ม1/2) ใช้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงศึกษาเซลล์ และโครงสร้างต่าง
ๆ ภายในเซลล์
ว 1.2 (ม1/3) อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างรูปร่าง
กับการทำหน้าที่ของเซลล์
ว 1.2 (ม1/4) อธิบายการจัดระบบของสิ่งมีชีวิต
โดยเริ่มจาก เซลล์เนื้อเยื่อ อวัยวะ ระบบอวัยวะ จนเป็น สิ่งมีชีวิต
ว 1.2 (ม1/5) อธิบายกระบวนการแพร่และออสโมซิสจาก หลักฐานเชิงประจักษ์และยกตัวอย่างการแพร่
และออสโมซิสในชีวิตประจำวัน
ว 1.2 (ม1/6) ระบุปัจจัยที่จำเป็นในการสังเคราะห์ด้วยแสง และผลผลิตที่เกิดขึ้นจากการสังเคราะห์ด้วยแสง
โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์
ว 1.2 (ม1/7)อธิบายความสำคัญของการสังเคราะห์ด้วยแสง ของพืชต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
ว 1.2 (ม1/8) ตระหนักในคุณค่าของพืชที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและ สิ่งแวดล้อม
โดยการร่วมกันปลูกและดูแลรักษา ต้นไม้ในโรงเรียนและชุมชน
ว 1.2 (ม1/9) บรรยายลักษณะและหน้าที่ของไซเล็มและ โฟลเอ็ม
ว 1.2 (ม1/10) เขียนแผนภาพที่บรรยายทิศทาง การลำเลียงสารในไซเล็มและโฟลเอ็ม ของพืช
ว 1.2 (ม1/11) อธิบายการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ และ ไม่อาศัยเพศของพืชดอก
ว 1.2 (ม1/12) อธิบายลักษณะโครงสร้างของดอกที่มีส่วน ทำให้เกิดการถ่ายเรณูรวมทั้งบรรยาย
การปฏิสนธิของพืชดอก การเกิดผลและเมล็ด การกระจายเมล็ด และการงอกของเมล็ด
ว 1.2 (ม1/13) ตระหนักถึงความสำคัญของสัตว์ที่ช่วยในการ ถ่ายเรณูของพืชดอก โดยการไม่ทำลายชีวิต
ของสัตว์ที่ช่วยในการถ่ายเรณู
ว 1.2 (ม1/14) อธิบายความสำคัญของธาตุอาหาร บางชนิดที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและการดำรงชีวิตของพืช
ว 1.2 (ม1/15) เลือกใช้ปุ๋ยที่มีธาตุอาหารเหมาะสมกับพืชใน สถานการณ์ที่กำหนด
ว 1.2 (ม1/16) เลือกวิธีการขยายพันธุ์พืชให้เหมาะสมกับ ความต้องการของมนุษย์โดยใช้ความรู้
เกี่ยวกับการสืบพันธุ์ของพืช
ว 1.2 (ม1/17) อธิบายความสำคัญของเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชในการใช้ประโยชน์ด้านต่าง ๆ
ว 1.2 (ม1/18) ตระหนักถึงประโยชน์ของการขยายพันธุ์พืช โดยการนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
สาระที่
2 วิทยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน
ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร
ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับโครงสร้าง และแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค
หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย
และการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ว 2.1 (ม1/1) อธิบายสมบัติ ทางกายภาพบาง ประการของธาตุ โลหะ
อโลหะ และกึ่งโลหะ โดย ใช้หลักฐานเชิง ประจักษ์ที่ได้จาก การสังเกตและ การทดสอบ
และ ใช้สารสนเทศที่ ได้จากแหล่งข้อมูล ต่าง ๆ รวมทั้งจัด กลุ่มธาตุเป็น โลหะ อโลหะ
และกึ่งโลหะ
ว 2.1 (ม1/2) วิเคราะห์ผลจาก การใช้ธาตุโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ และธาตุ
กัมมันตรังสี ที่มี ต่อสิ่งมีชีวิต สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและ สังคม จากข้อมูล ที่รวบรวมได้
ว 2.1 (ม1/3) ตระหนักถึง คุณค่าของการใช้ ธาตุโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ
ธาตุ กัมมันตรังสี โดย เสนอแนวทาง การใช้ธาตุอย่าง ปลอดภัย คุ้มค่า
ว 2.1 (ม1/4) เปรียบเทียบ จุดเดือด
จุด หลอมเหลวของสารบริสุทธิ์และ สารผสม โดยการ วัดอุณหภูมิ เขียน กราฟ แปล ความหมาย
ข้อมูลจากกราฟ หรือสารสนเทศ
ว 2.1 (ม1/5) อธิบายและ เปรียบเทียบ ความหนาแน่น ของสารบริสุทธิ์
และสารผสม
ว 2.1 (ม1/6) ใช้เครื่องมือเพื่อ วัดมวลและ ปริมาตรของสาร บริสุทธิ์และสารผสม
ว 2.1 (ม1/7)อธิบายเกี่ยวกับ ความสัมพันธ์
ระหว่างอะตอม ธาตุ และ สารประกอบ โดยใช้ แบบจำลองและ สารสนเทศ
ว 2.1 (ม1/8) อธิบายโครงสร้างอะตอมที่ประกอบด้วย
โปรตอน นิวตรอนและอิเล็กตรอน โดยใช้แบบจำลอง
ว 2.1 (ม1/9) อธิบายและ เปรียบเทียบการ
จัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหนี่ยว ระหว่างอนุภาค และการเคลื่อนที่ของอนุภาคของ สสารชนิด
เดียวกันใน สถานะของแข็ง ของเหลว และ แก๊ส โดยใช้ แบบจำลอง
ว 2.1 (ม1/10) อธิบาย ความสัมพันธ์
ระหว่างพลังงาน ความร้อนกับการ เปลี่ยนสถานะของ สสาร โดยใช้ หลักฐานเชิง ประจักษ์และ
แบบจำลอง
นางสาวจุฑารัตน์ อุสาทรัพย์
ครูผู้สอน
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์
ว21101
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ปีการศึกษา 2562 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ตามหลักสูตรโรงเรียนกลันทาพิทยาคม
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ภาคเรียนที่
1 จำนวน 1.5 หน่วยกิต เวลา 60 ชั่วโมง
ลำดับ
ที่
|
ชื่อหน่วยการ
เรียน
|
มาตรฐานการเรียนรู้/
ตัวชี้วัด
|
สาระสำคัญ
|
เวลา
(ชั่วโมง)
|
น้ำหนัก
คะแนน
|
1
|
หน่วยที่
1
เรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร
|
6
|
|||
2
|
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
-เซลล์
-กล้องจุลทรรศน์
|
ว
1.2 (ม1/1) เปรียบเทียบรูปร่าง ลักษณะ และโครงสร้าง ของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์รวมทั้งบรรยายหน้าที่
ของผนังเซลล์เยื่อหุ้มเซลล์ไซโทพลาซึม นิวเคลียส แวคิวโอล ไมโทคอนเดรีย และคลอโรพลาสต์
ว
1.2 (ม1/2)
ใช้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงศึกษาเซลล์ และโครงสร้างต่าง ๆ ภายในเซลล์
|
•
เซลล์เป็นหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตบางชนิดมีเซลล์เพียง เซลล์เดียว เช่น อะมีบา พารามีเซียม ยีสต์
บางชนิดมีหลายเซลล์ เช่น พืช สัตว์
•
โครงสร้างพื้นฐานที่พบทั้งในเซลล์พืชและเซลล์สัตว์และสามารถ สังเกตได้ด้วยกล้องจุลทรรศน์ใช้แสง
ได้แก่ เยื่อหุ้มเซลล์ไซโทพลาซึม และนิวเคลียส
โครงสร้างที่พบในเซลล์พืชแต่ไม่พบในเซลล์สัตว์ ได้แก่ ผนังเซลล์และคลอโรพลาสต์
•
โครงสร้างต่าง ๆ ของเซลล์มีหน้าที่แตกต่างกัน
-
ผนังเซลล์ ทำหน้าที่ให้ความแข็งแรงแก่เซลล์
-
เยื่อหุ้มเซลล์ ทำหน้าที่ห่อหุ้มเซลล์และควบคุมการลำเลียงสาร เข้าและออกจากเซลล์
-
นิวเคลียส ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของเซลล์
- ไซโทพลาซึม
มีออร์แกแนลล์ที่ทำหน้าที่แตกต่างกัน
-
แวคิวโอล ทำหน้าที่เก็บน้ำและสารต่าง ๆ
-
ไมโทคอนเดรีย ทำหน้าที่เกี่ยวกับการสลายสารอาหารเพื่อให้ ได้พลังงานแก่เซลล์
-
คลอโรพลาสต์ เป็นแหล่งที่เกิดการสังเคราะห์ด้วยแสง
|
3
|
|
3
|
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
-
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
|
ว 1.2 (ม1/3) อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างรูปร่าง กับการทำหน้าที่ของเซลล์
|
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตมีรูปร่าง ลักษณะ ที่หลากหลาย และมีความเหมาะสมกับหน้าที่ของเซลล์นั้น
เช่น เซลล์ประสาทส่วนใหญ่ มีเส้นใยประสาทเป็น แขนงยาว
นำกระแสประสาทไปยังเซลล์อื่น ๆ ที่ อยู่ไกลออกไป เซลล์ขนราก เป็นเซลล์ผิวของราก ที่มีผนังเซลล์และเยื่อหุ้มเซลล์ยื่นยาวออกมา
ลักษณะคล้ายขนเส้นเล็ก ๆ เพื่อเพิ่มพื้นที่ผิวใน การดูดน้ำและธาตุอาหาร
|
3
|
|
4
|
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
-ระบบของสิ่งมีชีวิต
|
ว 1.2 (ม1/4) อธิบายการจัดระบบของสิ่งมีชีวิต โดยเริ่มจาก เซลล์เนื้อเยื่อ
อวัยวะ ระบบอวัยวะ จนเป็น สิ่งมีชีวิต
|
พืชและสัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ มีการจัดระบบโดยเริ่ม จากเซลล์ไปเป็นเนื้อเยื่อ
อวัยวะ ระบบอวัยวะ และสิ่งมีชีวิต ตามลำดับ
เซลล์หลายเซลล์มารวมกันเป็นเนื้อเยื่อ เนื้อเยื่อ หลายชนิดมารวมกันและทำงานร่วมกันเป็นอวัยวะ
อวัยวะต่าง ๆ ทำงานร่วมกันเป็นระบบอวัยวะ ระบบอวัยวะทุกระบบทำงาน ร่วมกันเป็นสิ่งมีชีวิต
|
2
|
|
5
|
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
-กระบวนการแพร่และ
ออสโมซิส
|
ว
1.2 (ม1/5) อธิบายกระบวนการแพร่และออสโมซิสจาก หลักฐานเชิงประจักษ์และยกตัวอย่างการแพร่
และออสโมซิสในชีวิตประจำวัน
|
• เซลล์มีการนำสารเข้าสู่เซลล์เพื่อใช้ในกระบวนการ ต่าง ๆ ของเซลล์และมีการขจัดสารบางอย่าง
ที่เซลล์ไม่ต้องการออกนอกเซลล์การนำสารเข้า และออกจากเซลล์มีหลายวิธีเช่น
การแพร่ เป็นการเคลื่อนที่ของสารจากบริเวณที่มีความ เข้มข้นของสารสูงไปสู่บริเวณที่มีความเข้มข้น
ของสารต่ำ ส่วนออสโมซิส เป็นการแพร่ของน้ำ ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์จากด้านที่มีความเข้มข้นของ
สารละลายต่ำไปยังด้านที่มีความเข้มข้นของ สารละลายสูงกว่า
|
2
|
|
6
|
- กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
-ความสำคัญของการสังเคราะห์ด้วยแสง ของพืช
|
ว
1.2 (ม1/6)
ระบุปัจจัยที่จำเป็นในการสังเคราะห์ด้วยแสง และผลผลิตที่เกิดขึ้นจากการสังเคราะห์ด้วยแสง
โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์
ว
1.2 (ม1/7)อธิบายความสำคัญของการสังเคราะห์ด้วยแสง ของพืชต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
|
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชที่เกิดขึ้นในคลอโรพลาสต์จำเป็นต้องใช้แสงคาร์บอนไดออกไซด์คลอโรฟิลล์และน้ำ
ผลผลิตที่ได้จาก การสังเคราะห์ด้วยแสง ได้แก่ น้ำตาลและ แก๊สออกซิเจน
• การสังเคราะห์ด้วยแสง เป็นกระบวนการที่สำคัญ ต่อสิ่งมีชีวิต
เพราะเป็นกระบวนการเดียว ที่สามารถนำพลังงานแสงมาเปลี่ยนเป็นพลังงาน ในรูปสารประกอบอินทรีย์และเก็บสะสมในรูปแบบ
ต่าง ๆ ในโครงสร้างของพืช
|
3
|
|
8
|
การดำรงชีวิต
ของพืช
-คุณค่าของพืชที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและ สิ่งแวดล้อม
|
ว
1.2 (ม1/8)
ตระหนักในคุณค่าของพืชที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและ สิ่งแวดล้อม
โดยการร่วมกันปลูกและดูแลรักษา ต้นไม้ในโรงเรียนและชุมชน
|
พืชจึงเป็นแหล่ง
อาหารและพลังงานที่สำคัญของสิ่งมีชีวิตอื่น นอกจากนี้กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงยังเป็น
กระบวนการหลักในการสร้างแก๊สออกซิเจนให้กับ บรรยากาศเพื่อให้สิ่งมีชีวิตอื่น
ใช้ในกระบวนการ หายใจ
|
1
|
|
9
10
|
การดำรงชีวิต
ของพืช
-การลำเลียงสารในไซเล็มและโฟลเอ็ม ของพืช
การดำรงชีวิต
ของพืช
-แผนภาพการลำเลียงสารในไซเล็มและโฟลเอ็ม ของพืช
|
ว
1.2 (ม1/9) บรรยายลักษณะและหน้าที่ของไซเล็มและ โฟลเอ็ม
ว
1.2 (ม1/10) เขียนแผนภาพที่บรรยายทิศทาง การลำเลียงสารในไซเล็มและโฟลเอ็ม
ของพืช
|
• พืชมีไซเล็มและโฟลเอ็ม ซึ่งเป็นเนื้อเยื่อ มีลักษณะคล้ายท่อเรียงตัวกันเป็นกลุ่มเฉพาะที่
โดย
-ไซเล็มทำหน้าที่ลำเลียงน้ำและธาตุอาหาร
-โฟลเอ็มทำหน้าที่ ลำเลียงอาหารที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสง
• พืชมีไซเล็มและโฟลเอ็ม ซึ่งเป็นเนื้อเยื่อ มีลักษณะคล้ายท่อเรียงตัวกันเป็นกลุ่มเฉพาะที่
-ไซเล็มทำหน้าที่ลำเลียงน้ำและธาตุอาหาร มีทิศทางลำเลียงจากรากไปสู่ลำต้น
ใบ และ ส่วนต่างๆของพืช
-ส่วนโฟลเอ็มทำหน้าที่ ลำเลียงอาหารที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสง มีทิศทางลำเลียงจากบริเวณที่มีการสังเคราะห์ด้วย
แสงไปสู่ส่วนต่าง ๆ ของพืช
|
2
1
|
|
11
|
การดำรงชีวิต
ของพืช
- การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ และ ไม่อาศัยเพศของพืชดอก
ลักษณะโครงสร้างของดอก
- ถ่ายเรณูของพืชดอก
|
ว
1.2 (ม1/11) อธิบายการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ และ ไม่อาศัยเพศของพืชดอก
ว
1.2 (ม1/12)
อธิบายลักษณะโครงสร้างของดอกที่มีส่วน ทำให้เกิดการถ่ายเรณูรวมทั้งบรรยาย
การปฏิสนธิของพืชดอก การเกิดผลและเมล็ด การกระจายเมล็ด และการงอกของเมล็ด
ว
1.2 (ม1/13) ตระหนักถึงความสำคัญของสัตว์ที่ช่วยในการ
ถ่ายเรณูของพืชดอก โดยการไม่ทำลายชีวิต ของสัตว์ที่ช่วยในการถ่ายเรณู
|
พืชดอกทุกชนิดสามารถสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศได้
และบางชนิดสามารถสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศเป็นการสืบพันธุ์ที่มีการ
ผสมกันของสเปิร์มกับเซลล์ไข่การสืบพันธุ์ แบบอาศัยเพศของพืชดอกเกิดขึ้นที่ดอกโดยภายใน
อับเรณูของส่วนเกสรเพศผู้มีเรณูซึ่งทำหน้าที่ สร้างสเปิร์ม
ภายในออวุลของส่วนเกสรเพศเมีย มีถุงเอ็มบริโอ ทำหน้าที่สร้างเซลล์ไข่
ลักษณะและโครงสร้างของดอก
เช่น สีของ กลีบดอก ตำแหน่งของเกสรเพศผู้และเกสรเพศ เมีย
โดยมีสิ่งที่ช่วยในการถ่ายเรณูเช่น แมลง ลม
|
2
|
|
ลักษณะและโครงสร้างของดอก
เช่น สีของ กลีบดอก ตำแหน่งของเกสรเพศผู้และเกสรเพศ เมีย
โดยมีสิ่งที่ช่วยในการถ่ายเรณูเช่น แมลง ลม
• การถ่ายเรณูจะนำไปสู่การปฏิสนธิซึ่งจะเกิดขึ้นที่ ถุงเอ็มบริโอภายในออวุล
หลังการปฏิสนธิจะได้ ไซโกต และเอนโดสเปิร์ม ไซโกตจะพัฒนาต่อไป เป็นเอ็มบริโอ
ออวุลพัฒนาไปเป็นเมล็ด และรังไข่ พัฒนาไปเป็นผล
• ผลและเมล็ดมีการกระจายออกจากต้นเดิม โดย วิธีการต่าง ๆ
เมื่อเมล็ดไปตกในสภาพแวดล้อมที่ เหมาะสมจะเกิดการงอกของเมล็ด โดยเอ็มบริโอ ภายในเมล็ดจะเจริญออกมา
โดยระยะแรก จะอาศัยอาหารที่สะสมภายในเมล็ด จนกระทั่ง ใบแท้พัฒนา
จนสามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้ เต็มที่และสร้างอาหารได้เองตามปกต
• การถ่ายเรณูคือ การเคลื่อนย้ายของเรณูจาก อับเรณูไปยังยอดเกสรเพศเมีย
ซึ่งเกี่ยวข้องกับ ลักษณะและโครงสร้างของดอก เช่น สีของ กลีบดอก
ตำแหน่งของเกสรเพศผู้และเกสรเพศ เมีย โดยมีสิ่งที่ช่วยในการถ่ายเรณูเช่น แมลง ลม
• การถ่ายเรณูจะนำไปสู่การปฏิสนธิซึ่งจะเกิดขึ้นที่
ถุงเอ็มบริโอภายในออวุล หลังการปฏิสนธิจะได้ ไซโกต และเอนโดสเปิร์ม
ไซโกตจะพัฒนาต่อไป เป็นเอ็มบริโอ ออวุลพัฒนาไปเป็นเมล็ด และรังไข่ พัฒนาไปเป็นผล
|
1
1
|
||||
การดำรงชีวิต
ของพืช
-ธาตุอาหารของพืช
-ปุ๋ย
|
ว
1.2 (ม1/14)
อธิบายความสำคัญของธาตุอาหาร บางชนิดที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและการดำรงชีวิตของพืช
ว
1.2 (ม1/15)
เลือกใช้ปุ๋ยที่มีธาตุอาหารเหมาะสมกับพืชใน สถานการณ์ที่กำหนด
|
พืชต้องการธาตุอาหารที่จำเป็นหลายชนิดในการเจริญเติบโต
และการดำรงชีวิต
• พืชต้องการธาตุอาหารบางชนิดในปริมาณมาก ได้แก่ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส
โพแทสเซียม แคลเซียม แมกนีเซียม และกำมะถัน ซึ่งในดินอาจมีไม่เพียงพอสำหรับการเจริญเติบโตของพืช
จึงต้อง มีการให้ธาตุอาหารในรูปของปุ๋ยกับพืชอย่างเหมาะสม
|
2
|
||
1
|
|||||
16
|
การดำรงชีวิต
ของพืช
-การขยายพันธุ์พืช
|
ว
1.2 (ม1/16) เลือกวิธีการขยายพันธุ์พืชให้เหมาะสมกับ ความต้องการของมนุษย์โดยใช้ความรู้
เกี่ยวกับการสืบพันธุ์ของพืช
|
มนุษย์สามารถนำความรู้เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศและ
ไม่อาศัยเพศ มาใช้ในการขยายพันธุ์เพื่อเพิ่มจำนวนพืช เช่น การใช้เมล็ดที่ได้จากการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศมาเพาะเลี้ยง
วิธีการนี้จะได้พืชในปริมาณมาก แต่อาจมีลักษณะที่แตกต่างไป จากพ่อแม่
ส่วนการตอนกิ่ง การปักชำ การต่อกิ่ง การติดตา การทาบกิ่ง
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เป็นการนำความรู้เรื่อง การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชมาใช้ในการขยายพันธุ์
เพื่อให้ได้พืชที่มีลักษณะเหมือนต้นเดิม ซึ่งการขยายพันธุ์แต่ละ วิธีมีหลักการแตกต่างกัน
จึงควรเลือกให้เหมาะสมกับความต้องการ ของมนุษย์
โดยต้องคำนึงถึงชนิดของพืชและลักษณะการสืบพันธุ์ ของพืช • เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช เป็นการนำความรู้เกี่ยวกับ ปัจจัยที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืชมาใช้ในการเพิ่มจำนวน
พืชและทำให้พืชสามารถเจริญเติบโตได้ในหลอดทดลอง ซึ่งจะได้ พืชจำนวนมากในระยะเวลาสั้น
และสามารถนำเทคโนโลยี การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อมาประยุกต์เพื่อการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช
ปรับปรุงพันธุ์พืชที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ การผลิตยาและ สารสำคัญในพืช และอื่น
ๆ
|
1
|
|
17
18
|
การดำรงชีวิต
ของพืช
-เทคโนโลยี การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
การดำรงชีวิต
ของพืช
-ประโยชน์ของการขยายพันธุ์พืช
|
ว
1.2 (ม1/17) อธิบายความสำคัญของเทคโนโลยี การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชในการใช้ประโยชน์
ด้านต่าง ๆ
ว
1.2 (ม1/18) ตระหนักถึงประโยชน์ของการขยายพันธุ์พืช โดยการนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
|
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
เป็นการนำความรู้เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชมาใช้ในการขยายพันธุ์ เพื่อให้ได้พืชที่มีลักษณะเหมือนต้นเดิม
ซึ่งการขยายพันธุ์ แต่ละวิธีมีขั้นตอนแตกต่างกัน จึงควรเลือกให้ เหมาะสมกับความต้องการของมนุษย์โดยต้อง
คำนึงถึงชนิดของพืชและลักษณะการสืบพันธุ์ ของพืช
การขยายพันธุ์
แต่ละวิธีมีขั้นตอนแตกต่างกัน จึงควรเลือกให้ เหมาะสมกับความต้องการของมนุษย์โดยต้อง
คำนึงถึงชนิดของพืชและลักษณะการสืบพันธุ์ ของพืชเพื่อการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช
ปรับปรุงพันธุ์พืช ที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจการผลิตยาและ สารสำคัญในพืช และอื่น
ๆ
|
1
1
|
|
สอบกลางภาค
|
3
|
||||
19
|
สมบัติทางกายภาพบาง
ประการของธาตุโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ
|
ว
2.1
(ม1/1) อธิบายสมบัติ ทางกายภาพบาง ประการของธาตุ โลหะ
อโลหะ และกึ่งโลหะ โดย ใช้หลักฐานเชิง ประจักษ์ที่ได้จาก การสังเกตและ การทดสอบ
และ ใช้สารสนเทศที่ ได้จากแหล่งข้อมูล ต่าง ๆ รวมทั้งจัด กลุ่มธาตุเป็น โลหะ
อโลหะ และกึ่งโลหะ
|
ธาตุโลหะ
อโลหะ และกึ่งโลหะ ที่สามารถแผ่รังสีได้ จัดเป็นธาตุ กัมมันตรังสี • ธาตุมีทั้งประโยชน์และโทษ การใช้ธาตุโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ ธาตุกัมมันตรังสี
ควรคำนึงถึงผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิต สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและสังคม
|
3
|
|
20
|
ธาตุโลหะ
อโลหะ และกึ่งโลหะ
|
ว
2.1
(ม1/2) วิเคราะห์ผลจาก การใช้ธาตุโลหะ
อโลหะ กึ่งโลหะ และธาตุ กัมมันตรังสี ที่มี ต่อสิ่งมีชีวิต สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและ
สังคม จากข้อมูล ที่รวบรวมได้
|
•
ธาตุโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ ที่สามารถแผ่รังสีได้ จัดเป็นธาตุกัมมันตรังสี
|
3
|
|
21
|
ประโยชน์และโทษ
การใช้ธาตุโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ
|
ว
2.1
(ม1/3) ตระหนักถึง คุณค่าของการใช้ ธาตุโลหะ
อโลหะ กึ่งโลหะ ธาตุ กัมมันตรังสี โดย เสนอแนวทาง การใช้ธาตุอย่าง ปลอดภัย
คุ้มค่า
|
•
ธาตุมีทั้งประโยชน์และโทษ การใช้ธาตุโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ
ธาตุกัมมันตรังสีควรคำนึงถึง ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิต สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคม
|
3
|
|
22
|
ว
2.1
(ม1/4) เปรียบเทียบ จุดเดือด จุด หลอมเหลวของสารบริสุทธิ์และ สารผสม โดยการ วัดอุณหภูมิ
เขียน กราฟ แปล ความหมาย ข้อมูลจากกราฟ หรือสารสนเทศ
|
•
สารบริสุทธิ์ประกอบด้วยสารเพียงชนิดเดียว ส่วนสารผสม-ประกอบด้วยสารตั้งแต่
๒ ชนิด ขึ้นไป สารบริสุทธิ์แต่ละชนิดมีสมบัติบางประการ ที่เป็นค่าเฉพาะตัว เช่น
จุดเดือดและ จุดหลอมเหลวคงที่แต่สารผสมมีจุดเดือด และจุดหลอมเหลวไม่คงที่ขึ้นอยู่กับชนิดและ
สัดส่วนของสารที่ผสมอยู่ด้วยกัน
|
3
|
||
23
|
ความหนาแน่น
ของสารบริสุทธิ์ และสารผสม
|
ว
2.1
(ม1/5) อธิบายและ เปรียบเทียบ ความหนาแน่น
ของสารบริสุทธิ์ และสารผสม
|
•
สารบริสุทธิ์แต่ละชนิดมีความหนาแน่น หรือ มวลต่อหนึ่งหน่วยปริมาตรคงที่
เป็นค่าเฉพาะ ของสารนั้น ณ สถานะและอุณหภูมิหนึ่ง แต่สารผสมมีความหนาแน่นไม่คงที่ขึ้นอยู่กับชนิด
และสัดส่วนของสารที่ผสมอยู่ด้วยกัน
|
3
|
|
24
|
เครื่องมือเพื่อ
วัดมวลและ ปริมาตรของสาร บริสุทธิ์และสารผสม
|
ว
2.1
(ม1/6) ใช้เครื่องมือเพื่อ วัดมวลและ
ปริมาตรของสาร บริสุทธิ์และสารผสม
|
•
การเลือกใช้เครื่องมือเพื่อวัดมวลและ ปริมาตรของสาร บริสุทธิ์และสารผสมแต่ละชนิดที่มีความหนาแน่น
หรือ มวลต่อหนึ่งหน่วยปริมาตรคงที่ เป็นค่าเฉพาะ ของสารนั้นณ
สถานะและอุณหภูมิหนึ่ง แต่สารผสมมีความหนาแน่นไม่คงที่ขึ้นอยู่กับชนิด และสัดส่วนของสารที่ผสมอยู่ด้วยกัน
|
3
|
|
25
|
อะตอม
ธาตุ และ สารประกอบ
|
ว
2.1
(ม1/7)อธิบายเกี่ยวกับ ความสัมพันธ์ ระหว่างอะตอม ธาตุ และ สารประกอบ โดยใช้ แบบจำลองและ
สารสนเทศ
|
•
สารบริสุทธิ์แบ่งออกเป็นธาตุและสารประกอบ ธาตุประกอบด้วยอนุภาคที่เล็กที่สุดที่ยังแสดง
สมบัติของธาตุนั้นเรียกว่า อะตอม ธาตุแต่ละชนิด ประกอบด้วยอะตอมเพียงชนิดเดียวและไม่
สามารถแยกสลายเป็นสารอื่นได้ด้วยวิธีทางเคมี ธาตุเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ธาตุสารประกอบ
เกิดจากอะตอมของธาตุตั้งแต่ ๒ ชนิดขึ้นไป รวมตัวกันทางเคมีในอัตราส่วนคงที่
มีสมบัติ แตกต่างจากธาตุที่เป็นองค์ประกอบ สามารถ แยกเป็นธาตุได้ด้วยวิธีทางเคมีธาตุและ
สารประกอบสามารถเขียนแทนได้ด้วยสูตรเคมี
|
3
|
|
26
|
โครงสร้างอะตอม
|
ว
2.1
(ม1/8) อธิบายโครงสร้างอะตอมที่ประกอบด้วย
โปรตอน นิวตรอนและอิเล็กตรอน โดยใช้แบบจำลอง
|
•
อะตอมประกอบด้วยโปรตอน นิวตรอน และ อิเล็กตรอน
โปรตอนมีประจุไฟฟ้าบวก ธาตุ ชนิดเดียวกันมีจำนวนโปรตอนเท่ากันและเป็น ค่าเฉพาะของธาตุนั้น
นิวตรอนเป็นกลางทางไฟฟ้า ส่วนอิเล็กตรอนมีประจุไฟฟ้าลบ เมื่ออะตอม มีจำนวนโปรตอนเท่ากับจำนวนอิเล็กตรอน
จะเป็นกลางทางไฟฟ้า โปรตอนและนิวตรอน รวมกันตรงกลางอะตอมเรียกว่า นิวเคลียส ส่วนอิเล็กตรอนเคลื่อนที่อยู่ในที่ว่างรอบนิวเคลียส
|
3
|
|
27
|
อนุภาคของสาร
|
ว
2.1
(ม1/9) อธิบายและ เปรียบเทียบการ จัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหนี่ยว ระหว่างอนุภาค
และการเคลื่อนที่ของอนุภาคของ สสารชนิด เดียวกันใน สถานะของแข็ง ของเหลว และ แก๊ส
โดยใช้ แบบจำลอง
|
สสารทุกชนิดประกอบด้วยอนุภาค
โดยสาร ชนิดเดียวกันที่มีสถานะของแข็ง ของเหลว แก๊ส จะมีการจัดเรียงอนุภาค
แรงยึดเหนี่ยวระหว่าง อนุภาคการเคลื่อนที่ของอนุภาคแตกต่างกัน ซึ่งมีผลต่อรูปร่างและปริมาตรของสสาร
•
อนุภาคของของแข็งเรียงชิดกัน มีแรงยึดเหนี่ยว ระหว่างอนุภาคมากที่สุด
อนุภาคสั่นอยู่กับที่ ทำให้มีรูปร่างและปริมาตรคงที่
•
อนุภาคของของเหลวอยู่ใกล้กัน มีแรงยึดเหนี่ยว ระหว่างอนุภาคน้อยกว่าของแข็งแต่มากกว่าแก๊ส
อนุภาคเคลื่อนที่ได้แต่ไม่เป็นอิสระเท่าแก๊ส ทำให้ มีรูปร่างไม่คงที่แต่ปริมาตรคงที่
•
อนุภาคของแก๊สอยู่ห่างกันมาก มีแรงยึดเหนี่ยว ระหว่างอนุภาคน้อยที่สุด
อนุภาคเคลื่อนที่ได้ อย่างอิสระทุกทิศทาง ทำให้มีรูปร่างและปริมาตร ไม่คงท
|
3
|
|
28
|
พลังงานความร้อนกับการ
เปลี่ยนสถานะของ สสาร
|
ว
2.1
(ม1/10) อธิบาย ความสัมพันธ์ ระหว่างพลังงานความร้อนกับการ เปลี่ยนสถานะของ สสาร
โดยใช้ หลักฐานเชิง ประจักษ์และ แบบจำลอง
|
•
ความร้อนมีผลต่อการเปลี่ยนสถานะของสสาร เมื่อให้ความร้อนแก่ของแข็ง
อนุภาคของของแข็ง จะมีพลังงานและอุณหภูมิเพิ่มขึ้นจนถึงระดับหนึ่ง ซึ่งของแข็งจะใช้ความร้อนในการเปลี่ยนสถานะ
เป็นของเหลว เรียกความร้อนที่ใช้ในการเปลี่ยน สถานะจากของแข็งเป็นของเหลวว่าความร้อนแฝง
ของการหลอมเหลว และอุณหภูมิขณะ เปลี่ยนสถานะจะคงที่ เรียกอุณหภูมินี้ว่า จุดหลอมเหลว•
เมื่อให้ความร้อนแก่ของเหลวอนุภาคของของเหลว จะมีพลังงานและอุณหภูมิเพิ่มขึ้นจนถึงระดับหนึ่ง
ซึ่งของเหลวจะใช้ความร้อนในการเปลี่ยนสถานะ เป็นแก๊ส
เรียกความร้อนที่ใช้ในการเปลี่ยนสถานะ จากของเหลวเป็นแก๊สว่า ความร้อนแฝงของ การกลายเป็นไอ
และอุณหภูมิขณะเปลี่ยนสถานะ จะคงที่ เรียกอุณหภูมินี้ว่า จุดเดือด • เมื่อทำให้อุณหภูมิของแก๊สลดลงจนถึงระดับหนึ่ง แก๊สจะเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว
เรียกอุณหภูมิ นี้ว่า จุดควบแน่น ซึ่งมีอุณหภูมิเดียวกับจุดเดือด ของของเหลวนั้น
• เมื่อทำให้อุณหภูมิของของเหลวลดลงจนถึง ระดับหนึ่ง
ของเหลวจะเปลี่ยนสถานะเป็นของแข็ง เรียกอุณหภูมินี้ว่า จุดเยือกแข็ง
ซึ่งมีอุณหภูมิ เดียวกับจุดหลอมเหลวของของแข็งนั้น
|
3
|
|
สอบปลายภาค
|
3
|
||||
รวม
|
60
|
อัตราส่วนคะแนน
คะแนนเก็บระหว่างภาค :
คะแนนปลายภาค = 70.
: 30
K :
P : A = ….
: …. :
…..
รวม 100 คะแนน
คะแนนเก็บก่อนสอบกลางภาค = 25 คะแนน
สอบกลางภาค = 20.
คะแนน
คะแนนเก็บก่อนสอบกลางภาค = 25 คะแนน
สอบปลายภาค = 30 คะแนน
รวม 100 คะแนน
โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา
ว21101
ระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562
หน่วยที่
|
ชื่อหน่วย
|
มาตรฐาน/
ตัวชี้วัด
|
สาระสำคัญ
|
แผน
|
1
|
หน่วยที่
1 เรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร
|
|||
1
|
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
|
ว
1.2 (ม1/1)
ว
1.2 (ม1/2)
ว
1.2 (ม1/3)
ว
1.2 (ม1/4)
ว
1.2 (ม1/5)
ว
1.2 (ม1/6)
|
นิวเคลียส
ไซโทพลาซึม และเยื่อหุ้มเซลล์เป็นส่วนประกอบสำคัญของเซลล์
ที่เหมือนกันของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
ผนังเซลล์
และคลอโรพลาสต์ เป็นส่วนประกอบ ที่พบได้ในเซลล์พืช นิวเคลียส ไซโทพลาซึม
เยื่อหุ้มเซลล์ แวคิวโอล
เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของเซลล์สัตว์
มีหน้าที่แตกต่างกัน
นิวเคลียสไซโทพลาซึม เยื่อหุ้มเซลล์ แวคิวโอล ผนังเซลล์ และคลอโรพลาสต์
เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของเซลล์พืช มีหน้าที่แตกต่างกัน การแพร่และออสโมซิส
เป็นกระบวนการนำสารผ่านเซลล์
|
|
2
|
การดำรงชีวิต
ของพืช
|
ว
1.2 (ม1/7)
ว
1.2 (ม1/8)
ว
1.2 (ม1/9)
ว
1.2 (ม1/10)
ว 1.2
(ม1/11)
ว
1.2 (ม1/12)
ว
1.2 (ม1/13)
ว
1.2 (ม1/14)
ว
1.2 (ม1/15)
ว
1.2 (ม1/16)
ว
1.2 (ม1/17) ว 1.2 (ม1/18)
|
ปัจจัยที่จำเป็นในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงประกอบด้วยแสง
คลอโรฟิลล์
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ น้ำ
ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชจะได้น้ำตาล แก๊สออกซิเจนและน้ำ
ซึ่งมีความสำคัญต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม โดยมีเนื้อเยื่อลำเลียงน้ำ
และเนื้อเยื่ออาหารเป็นกลุ่มเซลล์ที่อยู่คู่ขนานกัน เป็นท่อลำเลียงจากราก ลำต้น
ถึงใบ สิ่งมีชีวิตทุกชนิดจะต้องมีการสืบพันธุ์ เพื่อแพร่พันธุ์ ขยายพันธุ์
เพื่อให้สามารถดำรงเผ่าพันธุ์อยู่ได้ พืชก็เช่นเดียวกันมีการสืบพันธุ์ทั้งแบบอาศัยเพศ
และไม่อาศัยเพศ โดยเกสรเพศผู้
และเกสรเพศเมียเป็นโครงสร้างที่ใช้ในการสืบพันธุ์ของพืชดอกและด้วยเหตุที่สภาพแวดล้อมมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
พืชจึงมีการรับรู้ และตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงนั้น
มนุษย์ได้นำเทคโนโลยีชีวภาพมาใช้ในการปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อเพิ่มผลผลิตให้ได้มากขึ้น
|
18
|
2
|
สารและสมบัติของสาร
|
ว
2.1
(ม1/1)
ว 2.1 (ม1/2)
ว
2.1 (ม1/3)
ว
2.1 (ม1/4)
ว
2.1 (ม1/5)
ว 2.1 (ม1/6)
ว 2.1 (ม1/7)
ว
2.1 (ม1/8)
ว 2.1
(ม1/9)
ว
2.1
(ม1/10)
|
สมบัติทางกายภาพบางประการเหมือนกันและ
บางประการต่างกัน ซึ่งสามารถนำมาจัดกลุ่มธาตุ เป็นโลหะอโลหะและกึ่งโลหะธาตุโลหะมีจุดเดือด
จุดหลอมเหลวสูง มีผิวมันวาว นำความร้อน นำไฟฟ้า
ดึงเป็นเส้นหรือตีเป็นแผ่นบางๆได้และ มีความหนาแน่นทั้งสูงและต่ำ ธาตุอโลหะ มีจุดเดือด
จุดหลอมเหลวต่ำ มีผิวไม่มันวาวไม่นำความร้อน ไม่นำไฟฟ้า เปราะ แตกหักง่าย และมีความหนาแน่นต่ำ
ธาตุกึ่งโลหะมีสมบัติ บางประการเหมือนโลหะ และสมบัติบางประการ เหมือนอโลหะ
|
13
|
3
|
12
|
|||
4
|
+
|
12
|
||
หน่วยที่
|
ตัวชี้วัด
|
ชื่อหน่วยการเรียนรู้และหัวข้อการเรียนรู้
|
เวลา(ชั่วโมง)
|
ภาระงาน
|
หมายเหตุ
|
1
|
1.1
|
14
|
1.
แบบฝึกหัด
2.
ศึกษาค้นคว้า ตามเวปไซต์
3.
ปฏิบัติการทดลอง
4. รายงานผลการทดลอง
5.
แบบทดสอบ
|
ประเมินครั้งที่ 1-2
|
|
โครงการสอนรายวิชา........................................
ภาคเรียนที่.......ปีการศึกษา.................ชั้นมัธยมศึกษาปีที่........... จำนวน........หน่วยกิต เวลา.......ชั่วโมง
สัปดาห์/
แผนการเรียนรู้ที่
|
หน่วยการเรียนรู้/เนื้อหา
|
ตัวชี้วัด/
|
กิจกรรม /
กระบวนการเรียนรู้
|
เวลา
(ชั่วโมง)
|
เอกสารหมายเลข 10
ข้อตกลงในการวัด-ประเมินผล
รายวิชา..........................................
1.
รายละเอียดในการวัด-ประเมินผล
อัตราส่วน คะแนนระหว่างภาค : คะแนนปลายภาค =
.............. : .......................
อัตราส่วน คะแนน K
: P :
A =........... :
.......... : ............
โดยมีรายละเอียดดังนี้
การประเมิน
|
คะแนน
|
วิธีวัด
|
ชนิดของเครื่องมือวัด
|
ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ข้อที่
|
เวลาที่ใช้
(นาที/ครั้ง)
|
ก่อนกลางภาค
|
|||||
กลางภาค
|
|||||
หลังกลางภาค
|
|||||
คุณลักษณะ
|
ตลอด
ภาคเรียน
|
||||
ปลายภาค
|
|||||
รวม
|
100
คะแนน
|
2.
กำหนดภาระงาน
ในการเรียนรายวิชา..........................ได้กำหนดให้นักเรียนทำกิจกรรม/
ปฏิบัติงาน(ชิ้นงาน)........ชิ้น ดังนี้
ที่
|
ชื่องาน
|
ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ข้อที่
|
ประเภทงาน
|
กำหนดส่ง
วัน/เดือน/ปี
|
|
กลุ่ม
|
เดี่ยว
|
||||
หากนักเรียนขาดส่งงาน...........ชิ้นและมีคะแนนตลอดภาคเรียนไม่ถึง
50 คะแนนจะได้รับผลการเรียน “ร”
ในรายวิชานี้
ลงชื่อ........................................ครูประจำวิชา
ลงชื่อ......................................หัวหน้ากลุ่มสาระฯ
(.........................................)
(......................................)
ลงชื่อ........................................รอง
/ ฝ่ายวิชาการ ลงชื่อ
.....................................ผู้อำนวยการสถานศึกษา
( นายจักรพันธ์ ภาชนะ )
( นายเลิศชาย รัตนะ )
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น