บทที่1.โครงสร้างโลก


บทที่1.โครงสร้างโลก
1.การแบ่งโครงสร้างโลกแบ่งออกเป็นกี่ชั้นอะไรบ้าง
ก.2 แบบ ธรณีภาค-ฐานธรณีภาค
ข.3 แบบ ธรณีภาค-ฐานธรณีภาค-มีโซเฟียร์
ค.4 แบบ ธรณีภาค-ฐานธรณีภาค-มีโซเฟียร์-แก่นโลกชั้นนอก
ง.5 แบบ ธรณีภาค-ฐานธรณีภาค-มีโซเฟียร์-แก่นโลกชั้นนอก-แก่นโลกชั้นใน
2.คลื่นทุติยภูมิสามารถเคลื่อนที่ผ่านได้เฉพาะตัวกลางชนิดใด
ก.ของเหลว                      ข.ของแข็ง
ค.โลหะ                           ง.ถูกทุกข้อ
3.แก่นโลกชั้นในอยู่ที่ระดับความลึกประมาณเท่าใด
ก.1,000 กิโลเมตร              ข.3,500 กิโลเมตร
ค.5,140 กิโลเมตร              ง.5,000 กิโลเมตร
4.เปลือกโลกแบ่งออกได้เป็นกี่ประเภท
ก.2ประเภท                      ข.3ประเภท
ค.4ประเภท                     ง.5ประเภท
5.ฐานธรณีภาคสามารถแบ่งออกได้เป็นกี่ลักษณะ
ก.1               ข.2                      ค.3                   ง.5
เฉลย 1 ง  2 ข  3 ค  4 ก  5ข

ความคิดเห็น

  1. นางสาวอธิติยา สาทิพจันทร์

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. 1. ที่ระดับความลึกประมาณ5140กิโลเมตร จากผิกโลกคลื่นปฐมภูมิ มีความเร็วเพิ่ทขึ้นอย่างมาก และเกิดคลื่นทุติยภูมิเคลื่อนที่เข้ามาสู่แก่นโลกชั้นใน มีสถานะเป็นอะไร
      ก. ของเหลว
      ข. ของแข็ง
      ค. ก๊าซ
      ง. พลาสมา

      2. หินต้นกำเนิดของหินหนืดส่วนใหญ่อยู่บริเวณชั้นเนื้อโลกตอนบนมีกี่ประเภทอะไรบ้าง
      ก. 1 ประเภท หินหนือบะซอลต์
      ข. 2 ประเภท หินหนืดไดออไรต์ หินหนืดบะซอลต์
      ค. 2 ประเภท หินหนืดบะซอลต์ หินหนืด ไรโอไลต์
      ง. 3 ประเภท หินหนืดบะซอลต์ หินหนืดไดออไรต์ หินหนืดไรโอไลต์


      3. ณ ความลึกประมาณกี่กิโลเมตรจากผิวโลก คลื่นปฐมภูมิและคลื่นทุติยภูมิมีความเร็วเพิ่มขึ้นฉับพลัน
      ก. 1900 กิโลเมตร
      ข. 2500 กิโลเมตร
      ค. 2900 กิโลเมตร
      ง. 3500 กิโลเมตร

      4. ส่วนเปลือกโลกมหาสมุทรประกอบไปด้วยธาตุอะไรบ้าง
      ก. ซิลิคอน แมกนีเซียม
      ข. แมกนีเซียม ไนโตรเจน
      ค. ไนโตรเจน ฮีเลียม
      ง.ฮีเลียม ไฮโดรเจน

      5.แก่นชั้นโลกชั้นในอยู่ที่ระดับความลึกประมาณเท่าใด
      ก. 1500 กิโลเมตร
      ข. 3000 กิโลเมตร
      ค. 5000 กิโลเมตร
      ง. 5140 กิโลเมตร

      เฉลย 1. ก 2. ค 3. ค 4.ก 5. ง.

      ลบ
  2. นายสมปอง แก้วภูมิแห่

    ตอบลบ
  3. นางสาวจุฑารัตน์ อุสาทรัพย์ ปี 2562

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. บทที่1.โครงสร้างโลก
      1.การแบ่งโครงสร้างโลกแบ่งออกเป็นกี่ชั้นอะไรบ้าง
      ก.2 แบบ ธรณีภาค-ฐานธรณีภาค
      ข.3 แบบ ธรณีภาค-ฐานธรณีภาค-มีโซเฟียร์
      ค.4 แบบ ธรณีภาค-ฐานธรณีภาค-มีโซเฟียร์-แก่นโลกชั้นนอก
      ง.5 แบบ ธรณีภาค-ฐานธรณีภาค-มีโซเฟียร์-แก่นโลกชั้นนอก-แก่นโลกชั้นใน
      2.คลื่นทุติยภูมิสามารถเคลื่อนที่ผ่านได้เฉพาะตัวกลางชนิดใด
      ก.ของเหลว ข.ของแข็ง
      ค.โลหะ ง.ถูกทุกข้อ
      3.แก่นโลกชั้นในอยู่ที่ระดับความลึกประมาณเท่าใด
      ก.1,000 กิโลเมตร ข.3,500 กิโลเมตร
      ค.5,140 กิโลเมตร ง.5,000 กิโลเมตร
      4.เปลือกโลกแบ่งออกได้เป็นกี่ประเภท
      ก.2ประเภท ข.3ประเภท
      ค.4ประเภท ง.5ประเภท
      5.ฐานธรณีภาคสามารถแบ่งออกได้เป็นกี่ลักษณะ
      ก.1 ข.2 ค.3 ง.5
      เฉลย 1 ง 2 ข 3 ค 4 ก 5ข

      ลบ
  4. นางสาว ชุติมา อรุณรัตน์

    ตอบลบ
  5. นางสาวอัญชลี โยธี

    ตอบลบ
  6. นายสุวรรณ ดาวดายรัมย์

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. 1. วงแหวนไฟหมายถึง
      ก. แนวรอยต่อรอบมหาสมุทร
      ข. แนวที่เกิดแผ่นดินไหวและไฟระเบิดบ่อยครั้ง
      ค. ตำแหน่งบนผิวโลกที่อยู่แนวศูนย์แผ่นดินไหว
      ง. ถูกทุกข้อ

      2. ข้อใดไม่ใช่แนวรอยต่อที่สำคัญที่ทำให้เกิดแผ่นดินไหว
      ก. รอยต่อที่เกิดล้อมรอบมหาสมุทรแปซิฟิก
      ข. แนวรอยต่อเกิดภูเขาแอลป์ในทวีปยุโรป
      ค. บริเวณเทือกเขากลางมหาสมุทร
      ง. แนวรอยต่อรอบมหาสมุทร

      3.การบอกขนาดของความรุนแรงของแผ่นดินไหวในระบบเมอร์คัลลีแบ่งเป็นกี่ระดับ
      ก. V ข. VII ค. X ง.XII

      4.ลีสโทรซอลัสและไซโนกาทัสเป็นสัตว์ประเภทใด
      ก. สัตว์น้ำ
      ข. สัตว์บก
      ค. สัตว์เลื้อยคลาน
      ง. สัตว์ปีก

      5.มีโซซอรัสเป็นสัตว์ประเภทใด
      ก. สัตว์น้ำ
      ข. สัตว์บก
      ค. สัตว์เลื้อยคลาน
      ง. สัตว์ปีก

      เฉลย 1. ข 2. ง 3. ง 4. ข 5. ข

      ลบ
    2. 1. วงแหวนไฟหมายถึง
      ก. แนวรอยต่อรอบมหาสมุทร
      ข. แนวที่เกิดแผ่นดินไหวและไฟระเบิดบ่อยครั้ง
      ค. ตำแหน่งบนผิวโลกที่อยู่แนวศูนย์แผ่นดินไหว
      ง. ถูกทุกข้อ

      2. ข้อใดไม่ใช่แนวรอยต่อที่สำคัญที่ทำให้เกิดแผ่นดินไหว
      ก. รอยต่อที่เกิดล้อมรอบมหาสมุทรแปซิฟิก
      ข. แนวรอยต่อเกิดภูเขาแอลป์ในทวีปยุโรป
      ค. บริเวณเทือกเขากลางมหาสมุทร
      ง. แนวรอยต่อรอบมหาสมุทร

      3.การบอกขนาดของความรุนแรงของแผ่นดินไหวในระบบเมอร์คัลลีแบ่งเป็นกี่ระดับ
      ก. V ข. VII ค. X ง.XII

      4.ลีสโทรซอลัสและไซโนกาทัสเป็นสัตว์ประเภทใด
      ก. สัตว์น้ำ
      ข. สัตว์บก
      ค. สัตว์เลื้อยคลาน
      ง. สัตว์ปีก

      5.มีโซซอรัสเป็นสัตว์ประเภทใด
      ก. สัตว์น้ำ
      ข. สัตว์บก
      ค. สัตว์เลื้อยคลาน
      ง. สัตว์ปีก

      เฉลย 1. ข 2. ง 3. ง 4. ค 5. ค

      ลบ
  7. สุรศักดิ์ มุน้อย ม.6/1 เลขที่18

    ตอบลบ
  8. นางสาว ชนิดา สำรวมจิตร

    ตอบลบ
  9. นางสาวภัทรนันท์ เจิมรัมย์

    ตอบลบ
  10. นายสมภพ​ ชำนาญกิจ

    ตอบลบ
  11. นางสาว ปิยาอร บัวน่วม.

    ตอบลบ
  12. นายปรเมษฐ์ ลือปัญญา

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. 1.ชั้นมีโซสเฟียร์มีความลึกประมาณเท่าไร
      ก.600-760 ข.660-2900
      ค.660-2600 ง.560-1600

      2.ข้อใดถูกต้อง
      ก.แก่นโลกชั้นนอก เป็นชั้นที่อยู่ใต้มีโซสเฟียร์ มีความลึกประมาณ 2900-5140 กิโลเมตร
      ข.มีโซสเฟียร์ เป็นชั้นที่อยู่ใต้ธรณีภาค มีคาวมลึกประมาณ 600-2800 กิโลเมตร
      ค.แก่นโลกชั้นใน อยู่ที่ระดับความลึกประมาณ 5470 กิโลเมตร
      ง.ฐานธรณีภาค เป็นชั้นที่อยู่เหนือธรณีภาค

      3.ข้อใดเป็นการแบ่งโครงสร้างโลกที่ถูกต้อง
      ก.ฐานธรณีภาค-ธรณีภาค-แก่นโลกชั้นนอก
      ข.ธรณีภาค-ฐานธรณีภาค-มีโซสเฟียร์-แก่นโลกชั้นใน
      ค.ธรณีภาค-ฐานธรณีภาค-มีโซสเฟียร์
      ง.ธรณีภาค-ฐานธรณีภาค-มีโซสเฟียร์-แก่นโลกชั้นนอก-แก่นโลกชั้น

      4.การแบ่งโครงสร้างโลกแบ่งได้กี่ชั้น
      ก.2 ข.4 ค.5 ง.6

      5.คลื่นทุติยภูมิสามารถเคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วได้เท่าไร
      ก.6.4-8.5 กิโลเมตรต่อวินาที่ ข.5.6-4.5 กิโลเมตรต่อวินาที่
      ค.6.4-8.4 กิโลเมตรต่อวินาที่ ง.6.4-7.4 กิโลเมตรต่อวินาที่
      เฉลย 1.ข 2.ก 3.ง 4.ค 5.ค

      ลบ
  13. นางสาวมยุเรศ เชียงแมน

    ตอบลบ
  14. นางสสวจิรสุตา โคแก้ว

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. 1. แก่นโลกหมายถึงข้อใด
      1. ส่วนของโลกที่มีความแข็งมากที่สุด
      2. ส่วนที่อยู่ชั้นในสุดของโลก
      3. ส่วนที่อยู่ระหว่างชั้นเปลือกโลกกับชั้นแมนเทิล
      4. ส่วนของโลกที่เกิดการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
      2. แก่นโลกประกอบด้วยธาตุใดมากที่สุด
      1. ธาตุเหล็ก และนิเกิล 2. ธาตุเหล็กและซิลคอน
      3. ธาตุซิลิคอน และอลูมิเนียม 4. ธาตูซิลิคอน และแมกนีเซียม
      3. ปัจจัยหนึ่งของโลกที่ทำให้เกิดปรากฎการณ์ธรรมชาติที่เรียกว่าแผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิดได้แก่
      1. ปัจจัยทางด้านกายภาพ ส่วนประกอบทางเคมี
      2. ปัจจัยโครงสร้าง ส่วนประกอบภายในของโลก
      3. ปัจจัยทางด้านชีวภาพ ส่วนประกอบทางเคมี
      4. ข้อ 1 และข้อ 2 ถูก
      4. เพราะเหตุใดบริเวณรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลกจึงมีโอกาสเกิดแผ่นดินไหวมากกว่าบริเวณอื่น
      1. การเคลื่อนที่ของหินหนืด
      2. แรงสั่นสะเทือนของภูเขาไฟระเบิด
      3. เปลือกโลกมีการเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา
      4. โครงสร้างของหินมีความแตกต่างกันมาก
      5. ก. การเคลื่อนที่ของแมกมาในชั้นเนื้อโลก
      ข. แผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่เข้าชนกันหรือแยกออกจากกัน
      ค. เปลือกโลกเกิดการกระทบกระแทกหรือเคลื่อนที่ตามแนวระดับในรูปของคลื่น
      ง. เปลือกโลกเกิดการทรุดตัวหรือยุบตัวลง

      ลบ
  15. นางสาวนิตยา ยิ่งเหมาะ

    ตอบลบ
  16. นายจักรพันธ์ เดชสายบัว

    ตอบลบ
  17. นายพงษ์ศักดิ์จงกรด

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

      ลบ
    2. ข้อสอบ เรื่องครงสร้างโลก
      1.ข้อใดถือว่าสำคัญเป็นอันดับแรกในการบอกว่าบริเวณใดเป็นบริเวณที่เรียกว่าวงแหวนแห่งไฟ
      ก. มีแนวรอยต่อของแผ่นธรณีภาค
      ข. มีการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาคตลอดเวลา
      ค. มีภูเขาไฟระเบิดมากที่สุดในโลก ทั้งในแผ่นดินและใต้มหาสมุทร
      ง. มีแผ่นดินไหวรุนแรงและมากที่สุดในโลกถึงร้อยละ 80 ของการเกิดแผ่นดินไหวในโลก

      2. ข้อใดกล่าวถึงโครงสร้างภายในโลกได้ถูกต้อง
      ก. แก่นโลกชั้นในส่วนใหญ่เป็นของเหลวมีอุณหภูมิและความดันสูงกว่าแก่นโลกชั้นนอก
      ข. แก่นโลกชั้นนอกส่วนใหญ่เป็นของเหลวมีอุณหภูมิและควาดมันสูงกว่าแก่นโลกชั้นใน
      ค. ชั้นเนื้อโลกส่วนบนส่วนใหญ่เป็นของแข็งมีอุณหภูมิและความดันสูงกว่าชั้นเนื้อโลกส่วนล่าง
      ง. ชั้นเนื้อโลกส่วนล่างสุดส่วนใหญ่เป็นของแข็งมีอุณหภูมิและความดันสูงกว่าชั้นเนื้อโลกส่วนบน

      3. ข้อใดกล่าวถึงโครงสร้างภายในโลกได้ถูกต้อง
      ก. แก่นโลกชั้นในส่วนใหญ่เป็นของเหลวมีอุณหภูมิและความดันสูงกว่าแก่นโลกชั้นนอก
      ข. แก่นโลกชั้นนอกส่วนใหญ่เป็นของเหลวมีอุณหภูมิและควาดมันสูงกว่าแก่นโลกชั้นใน
      ค. ชั้นเนื้อโลกส่วนบนส่วนใหญ่เป็นของแข็งมีอุณหภูมิและความดันสูงกว่าชั้นเนื้อโลกส่วนล่าง
      ง. ชั้นเนื้อโลกส่วนล่างสุดส่วนใหญ่เป็นของแข็งมีอุณหภูมิและความดันสูงกว่าชั้นเนื้อโลกส่วนบน

      4. ภูเขาไฟระเบิดมีสาเหตุมาจากข้อใด
      ก. แมกมา แก๊ส และไอนู้กอัดไว้ มีการเคลื่อนไหวเกิดเสียงดัง เมื่อปริมาณเพิ่มมากขึ้นจะระเบิดพ่นชิ้นส่วนออกทางปล่องภูเขาไฟ
      ข. แมกมาเคลื่อนที่ขึ้นมาใกล้ผิดโลก แก๊สที่ปนอยู่แยกตัวออกแล้วลอยขึ้นเหนือแมกมา เพิ่มจำนวนและขยายตัวอย่างรวดเร็วจนระเบิดอย่างรุนแรง
      ค. ชิ้นส่วนภูเขาไฟที่มีแก๊สและไอน้ำประกอบอยู่ เมื่ออยู่ใต้ผิวโลกจะมีอุณหภูมิและความดันสูงมาก จึงขยายตัวและพุ่งขึ้นจากช่องเปิดอย่างรวดเร็วเป็นการระเบิดที่รุนแรง
      ง. แมกมาเคลื่อนที่มาถึงใต้เปลือกโลก แล้วดันออกทางช่องด้านข้าง และรอยแตกแยกของภูเขาไฟอย่างแรงเกิดความเสียหายเป็นบริเวณกว้าง

      5. หลักฐานทางธรณีวิทยาที่สนับสนุนว่าทวีปต่างๆ ในปัจจุบันแต่เดิมเป็นผืนแผ่นเดียวกัน ได้มาจาการศึกษาตามข้อใด
      ก. รอยต่อของแผ่นธรณีภาค
      ข. รอยต่อของชั้นแกนโลก
      ค. รอยต่อของชั้นเนื้อโลก
      ง. รอยต่อของชั้นเปลือกโลก

      เฉลย 1. ง. , 2. ง. , 3. ง. , 4. ค. , 5. ก.

      ลบ

แสดงความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

แนวข้อสอบพร้อมเฉลย วิชาพลังงาน

โครงงานประเภทการสำรวจ (Survey Research Project)

โครงงานประเภทการพัฒนาหรือการประดิษฐ์ (Developmental Research Project or Invention)