ม.6 ว 6.1 ม.4-6/5 สำรวจ วิเคราะห์และอธิบายการลําดับชั้นหินจากการวางตัว ของชั้นหิน ซากดึกดําบรรพ์ และโครงสร้างทางธรณีวิทยาเพื่ออธิบายประวัติความเป็นมาของพื้นที่
ว 6.1 ม.4-6/5 สำรวจ
วิเคราะห์และอธิบายการลําดับชั้นหินจากการวางตัว ของชั้นหิน
ซากดึกดําบรรพ์ และโครงสร้างทางธรณีวิทยาเพื่ออธิบายประวัติความเป็นมาของพื้นที่
42.เหตุใดซากดึกดำบรรพ์ของสัตว์มีกระดูกสันหลังจึงเป็นซากดึกดำบรรพ์ที่พบได้น้อย
(ว 6.1 ม.4-6/5)
1.
โครงร่างภายนอกเป็นเนื้อเยื่อจึงเน่าเปื่อยง่าย การเก็บรักษาซากจึงเป็นไปได้ยาก
2.
สัตว์มีกระดูกสันหลังมีระยะเวลาทางวิวัฒนาการสั้นกว่าพืชหรือสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
3.
ส่วนใหญ่จะอาศัยอยู่บนบกและเมื่อล้มตายลง การเก็บรักษาซากเป็นไปได้ยากกว่าในน้ำ
4.
เนื่องจากมีจำนวนน้อยกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับซากดึกดำบรรพ์ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
43. ซากดึกดำบรรพ์ที่ใช้บ่งบอกอายุของชั้นหินได้ดีจะต้องมีลักษณะตามข้อใด
(ว 6.1 ม.4-6/5)
1. มีโครงร่างภายนอกเป็นโครงกระดูกแข็ง
มีปริมาณมาก ช่วงอายุสั้น สูญพันธุ์เร็ว
2.
เป็นซากดึกดำบรรพ์ที่พบอยู่ในเฉพาะชั้นหิน และมีปริมาณมากมายในชั้นหินนั้น
3. มีชีวิตอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม
ขยายพันธุ์ได้รวดเร็ว มีปริมาณมาก ช่วงอายุสั้น สูญพันธุ์เร็ว
4.พบอยู่เฉพาะในชั้นหินตะกอนสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ในสภาพแวดล้อมจำกัดในแหล่งเกิดชั้นหิน
44. ยุคใดที่มีอายุน้อยที่สุด
(ว 6.1 ม.4-6/5)
1. ยุคเทอร์เชียรี 2. ยุคดีโวเนียน
3. ยุคพรีแคมเบียน 4. ยุคควอเทอร์นารี
45.
จากการค้นพบซากบรรพชีวินเฟินกลอสซอพเทอริส สัตว์เลื้อยคลานมีโซซอรัสกระจายอยู่ในทวีปต่าง
ๆ ทำให้นักวิทยาศาสตร์ตั้งสมมุติฐานขึ้น
ข้อใดที่มีสมมุติฐานสอดคล้องกับหลักฐานที่พบ (ว 6.1
ม.4-6/5)
1.
แผ่นเปลือกโลกมีการเคลื่อนที่ตลอดเวลา
2.
สัตว์และพืชมีวิวัฒนาการมาจากบรรพบุรุษใกล้เคียงกัน
3.
แผ่นเปลือกโลกต่าง ๆ ในปัจจุบันและอดีตเป็นแผ่นเดียวกัน
4. การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลกมีความสัมพันธ์กับวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
46.ซากดึกดำบรรพ์ที่มีลักษณะสมบูรณ์
ส่วนใหญ่มักพบในทะเลมากกว่าบนบก ข้อใดสามารถอธิบายได้ดีที่สุด (ว 6.1 ม.4-6/5)
1.
ตะกอนที่ตกทับถมในทะเลมีขนาดเล็กและเม็ดละเอียด
2. ความเค็มของน้ำทะเลช่วยชะลอการสลายตัวของซากสัตว์
3.
โครงสร้างรูปร่างของสัตว์ทะเลมีความแข็งมากกว่าสัตว์บก
4. การฝังกลบของตะกอนที่มีขนาดต่าง ๆ กัน
ช่วยทำให้ซากสัตว์ชะลอการสลายตัว
47. แหล่งไดโนเสาร์ที่พบในประเทศไทยมักจะพบในชั้นหินอะไร
(ว 6.1 ม.4-6/5)
1. หินดินดานและหินปูน 2.
หินชนวนและหินทราย
3. หินกรวดมนและหินทรายแดง 4. หินทรายและหินทรายแป้ง
48.
การหาอายุของโลกโดยวิธีการใดที่จะได้ค่าที่แม่นยำมากที่สุด (ว
6.1 ม.4-6/5)
1. คำนวณด้วยวิธีหาอายุสัมบูรณ์
2. การเปรียบเทียบอายุของลำดับชั้นหิน
3. การสืบลำดับจากซากดึกดำบรรพ์ที่อยู่ในชั้นหิน
4. คำนวณจากความเข้มของเกลือที่เหลืออยู่ในน้ำทะเล
49. การเกิดซากดึกดำบรรพ์มีดังนี้
ก. ซากดึกดำบรรพ์โผล่ขึ้นผิวโลก ข.
ชั้นหินถูกดันขึ้นไปมาและถูกกัดเซาะ
ค. สัตว์หรือพืชตายลงถูกฝังลงในชั้นหิน ง. ซากแข็งตัวและมีตะกอนมาตกทับถม
ข้อใดเรียงลำดับขั้นตอนการเกิดซากดึกดำบรรพ์ได้ถูกต้อง (ว 6.1
ม.4-6/5)
1. ก – ข – ค – ง 2. ข – ค – ง – ก
3. ค – ง – ข – ก 4. ง – ค – ข – ก
50. จากรูป
ข้อใดแปลความหมายได้ถูกต้อง (ว 6.1 ม.4-6/5)
1.
ถ้าหิน A เป็นส่วนหนึ่งของหิน B หิน A จะมีอายุน้อยกว่าหินที่มันแทรกอยู่ และหิน A
มีโอกาสที่จะโผล่ขึ้นมาเป็นส่วนหนึ่งของหิน
2.ถ้าหิน B
เป็นส่วนหนึ่งของหิน A หิน A
จะมีอายุน้อยกว่าหินที่มันแทรกอยู่ และหิน B
มีโอกาสที่จะแทรกตัดผ่านเป็นส่วนหนึ่งของหิน A
3. ถ้าหิน A
เป็นส่วนหนึ่งของหิน B หิน A
จะมีอายุเท่ากับหินที่มันแทรกอยู่ และหิน B
มีโอกาสที่จะแทรกตัดผ่านเป็นส่วนหนึ่งของหิน A
4. ถ้าหิน B เป็นส่วนหนึ่งของหิน A หิน B จะมีอายุน้อยกว่าหินที่มันแทรกอยู่ และหิน A มีโอกาสที่จะโผล่ขึ้นมาเป็นส่วนหนึ่งของหิน B
4. ถ้าหิน B เป็นส่วนหนึ่งของหิน A หิน B จะมีอายุน้อยกว่าหินที่มันแทรกอยู่ และหิน A มีโอกาสที่จะโผล่ขึ้นมาเป็นส่วนหนึ่งของหิน B
51.
ข้อใดเป็นการบอกอายุหินเชิงเปรียบเทียบ (ว 6.1
ม.4-6/5)
1. ใช้สารกัมมันตภาพรังสี 2. ใช้ซากดึกดำบรรพ์ดัชนี
3. อายุหินในแต่ละชั้นมากกว่าหรือน้อยกว่า 4. เปรียบเทียบกับอายุของหินเกลือ
52.
นักวิทยาศาสตร์ได้จัดลำดับอายุทางธรณีนับจากการเกิดโลกและสิ่งมีชีวิต
ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงบนพื้นผิวโลกและใต้พื้นโลก โดยใช้หลักฐานร่องรอยจากข้อใดบ้าง
เพื่อจัดลำดับเหตุการณ์ที่เคยเกิดขึ้นในอดีตจนถึงปัจจุบัน
ก. ซากบรรพชีวิน ข. อายุของพื้นมหาสมุทร
ค. การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก ง. การกลับขั้วของสนามแม่เหล็กโลก
จ. การเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างพื้นผิวโลก
ฉ. การเกิดปรากฏการณ์ธรรมชาติ
เช่น ภูเขาไฟปะทุ แผ่นดินไหว
ข้อใดถูกต้อง (ว 6.1 ม.4-6/5)
1. ก, ค, จ 2. ข,
ง, ฉ
3. ก, ข, ค, จ 4. ข, ง, จ, ฉ
53.
ข้อใดเป็นการบอกอายุหินเชิงเปรียบเทียบ (ว 6.1
ม.4-6/5)
1. ใช้สารกัมมันตภาพรังสี 2. ใช้ซากดึกดำบรรพ์ดัชนี
3. อายุหินในแต่ละชั้นมากกว่าหรือน้อยกว่า 4. เปรียบเทียบกับอายุของหินเกลือ
นานเอกพัฒน์ งามดี
ตอบลบนายทินภทัร เมืองใาก
ตอบลบนางสาวปิยาอร บัวน่วม
ตอบลบนายชัชวาล พรมกลาง
ตอบลบนายชาญชัย มณีทอง
ตอบลบนางสาวอัญชลี โยธี
ตอบลบนางสาวแพรวพรรณ ศิริจันทร์
ตอบลบสมปอง แก้วภูมิแห่
ตอบลบนางสาวอธิติยา สาทิพจันทร์
ตอบลบนางสาวนิตยา ยิ่งเหมาะ
ตอบลบนางสาวจิรสุตา โคเเก้ว
ตอบลบนายพงศักดิ์ จงกรด
ตอบลบมยุเรศ เชียงแมน
ตอบลบนายสมภพ ชำนาญกิจ
ตอบลบนายสุวรรณ ดาวดายรัมย์
ตอบลบนายอดิศรณ์ สะเดา
ตอบลบกรุณาลงชื่อเขาอ่านและเรียนด้่วยตนเอง 12 กค 62
ตอบลบกรุณาลงชื่อเขาอ่านและเรียนด้่วยตนเอง 12 กค 62
ตอบลบนางสาวปิยาอร บัวน่วม 12.07.62
ตอบลบปรเมษฐ์ ลือปัญญา 12/07/62
ตอบลบสมปอง แก้วภูมิแห่ 12/07/62
ตอบลบนางสาวแพรวพรรณ ศิริจันทร์ 12/07/62
ตอบลบนายชาญชัย มณีทอง 12/07/62
ตอบลบ12/7/2562
ตอบลบนายสุวรรณ ดาวดายรัมย์
นายอดิศรณ์ สัเดา 12/07/62
ตอบลบ12/7/2562
ตอบลบน.ส.พรอุมา ฉงอนรัมย์
12/7/2562
ตอบลบน.ส.พรอุมา ฉงอนรัมย์
สมภพ ชำนาญ 12/07/62
ตอบลบนายพีระวัฒน์ ผาสนุก 12/07/62
ตอบลบนายพงศธร โตนไธสง 12/7/2562
ตอบลบนายปิยณัฐ ศรีพลัง 12/07/62
ตอบลบนายชัชวาล พรมกลาง12/07/62
ตอบลบนิธิศ จิตสวา 12.07.62
ตอบลบนายเอกพัฒน์ งามดี 12/07/62
ตอบลบรัตสุดา นาคหาญ
ตอบลบนางสาวอัญชลี โยธี 12/07/62
ตอบลบนางสาวอธิติยา สาทิพจันทร์
ตอบลบ12/7/62
นางสาวอธิติยา สาทิพจันทร์
ตอบลบ12/7/62