ม. 6 ไฟฟ้าเคมี 3
1.การป้องกันการผุกร่อนของอุโมงค์ หรือท่อเหล็กใต้ดิน
กระทำได้โดยการต่อท่อเหล็ก (A) เข้ากับสารชนิดอื่น (B)
ดังรูป
ข้อความใดต่อไปนี้ผิด
ก. โลหะ A เป็นตัวรีดิวซ์ที่ยากกว่า B
ข. เมื่อเวลาผ่านไปมวลของ B อาจลดลง
ค. A ทำหน้าที่เป็นขั้วลบ เกิดปฏิกิริยารีดักชัน
ง. B ให้อิเล็กตรอนได้ง่ายกว่า A , B จึงทำหน้าที่เป็นแอโนด
ข้อความใดต่อไปนี้ผิด
ก. โลหะ A เป็นตัวรีดิวซ์ที่ยากกว่า B
ข. เมื่อเวลาผ่านไปมวลของ B อาจลดลง
ค. A ทำหน้าที่เป็นขั้วลบ เกิดปฏิกิริยารีดักชัน
ง. B ให้อิเล็กตรอนได้ง่ายกว่า A , B จึงทำหน้าที่เป็นแอโนด
2.ข้อใดต่อไปนี้ อธิบายเกี่ยวกับแบตเตอรี่ได้ถูกต้อง
ก. ขณะจ่ายไฟ ค่าศักย์ไฟฟ้าของแต่ละเซลล์ในแบตเตอรี่มีค่าคงที่
ข. ขณะจ่ายไฟ สารที่เข้าทำปฏิกิริยาเป็นสารชนิดเดียวกัน
ค. ตัวรีดิวซ์มีการเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชันเท่ากับ 4
ง. ระดับความเข้มข้นของกรดมีผลต่อศักย์ไฟฟ้าของเซลล์
ก. ขณะจ่ายไฟ ค่าศักย์ไฟฟ้าของแต่ละเซลล์ในแบตเตอรี่มีค่าคงที่
ข. ขณะจ่ายไฟ สารที่เข้าทำปฏิกิริยาเป็นสารชนิดเดียวกัน
ค. ตัวรีดิวซ์มีการเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชันเท่ากับ 4
ง. ระดับความเข้มข้นของกรดมีผลต่อศักย์ไฟฟ้าของเซลล์
3.การกระทำข้อใดไม่ถูกต้อง เมื่อต้องการชุบแท่งเหล็กด้วยโครเมี่ยม
ก.ใช้แท่งเหล็กเป็นแคโทดหรือเป็นขั้วลบ
ข.
ใช้โลหะโครเมียมเป็นแอโนดหรือเป็นขั้วบวก
ค.สารละลายอิเลคโตรไลต์ต้องมีไอออนของโครเมี่ยม
ง.ใช้โลหะโครเมี่ยมเป็นแคโทดหรือเป็นขั้วลบ
4.สิ่งใดไม่ควรทำในการชุบโลหะด้วยไฟฟ้า ก.ใช้โลหะที่จะชุบเป็นแคโทดหรือขั้วลบของเซลล์
ข.ใช้ของที่จะชุบเป็นแคโทดหรือขั้วลบของเซลล์
ค.ในสารละลายอิเลคโทรไลต์มีไอออนของโลหะชุบ
ค.ในสารละลายอิเลคโทรไลต์มีไอออนของโลหะชุบ
ง.ใช้ไฟฟ้ากระแสตรง
5. เซลล์กัลวานิกจำแนกได้เป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ก. 2 ประเภทคือเซลล์ปฐมยภูมิและเซลล์อิเลค
ข. 2 ประเภทคือเซลล์ทุติภูมิและเซลล์ทุติยภูมิ
ค. 2 ประเภทคือเซลล์ทุติยภูมิและเซลล์ตติยภูมิ
ง. 2 ประเภทคือเซลล์ปฐมภูมิและเซลล์ทุติยภูมิ
6. ผลที่ได้รับจากเซลล์เชื้อเพลิง H 2
– O2
ก.พลังงานไฟฟ้า และความร้อน
ก.พลังงานไฟฟ้า และความร้อน
ข.พลังงานไฟฟ้า น้ำบริสุทธิ์ และอากาศที่ไม่เป็นพิษ
ค.พลังงานไฟฟ้า คามร้อน และน้ำบริสุทธิ์
ค.พลังงานไฟฟ้า คามร้อน และน้ำบริสุทธิ์
ง.พลังงานไฟฟ้า เพียง อย่างเดียว
7..ข้อความต่อไปนี้ ข้อใดไม่เกี่ยวกับเรื่องเซลล์เชื้อเพลิงไฮโดรเจน-ออกซิเจน
ก.เกิดปฏิกิริยารีดอกซ์
ข.เปลี่ยนพลังงานปฏิกิริยาเคมีเป็นพลังงานไฟฟ้า
ค.มีการผ่านสารตั้งต้นที่ขั้วแคโทดและแอโนดอย่างสม่ำเสมอ
ง.ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นที่ขั้วแคโทดจะให้ก๊าซไฮโดรเจน และที่ขั้วแอโนดให้ก๊าซออกซิเจน
7..ข้อความต่อไปนี้ ข้อใดไม่เกี่ยวกับเรื่องเซลล์เชื้อเพลิงไฮโดรเจน-ออกซิเจน
ก.เกิดปฏิกิริยารีดอกซ์
ข.เปลี่ยนพลังงานปฏิกิริยาเคมีเป็นพลังงานไฟฟ้า
ค.มีการผ่านสารตั้งต้นที่ขั้วแคโทดและแอโนดอย่างสม่ำเสมอ
ง.ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นที่ขั้วแคโทดจะให้ก๊าซไฮโดรเจน และที่ขั้วแอโนดให้ก๊าซออกซิเจน
จากรูปต่อไปนี้ใช้ตอบคำถามข้อที่ 8-9
เซลล์กัลวานิกที่ประกอบด้วยครึ่งเซลล์โบรมีนและครึ่งเซลล์ต่อกันดังรูป
จงตอบคำถามต่อไปนี้
8. เขียนแผนภาพของเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ก. 2Br- (aq) ® Br2 (l) + 2e-
ข. Cl2 (g) + 2e- ® 2Cl- (g)
ค. Cl2 (g) + 2Br- (aq) ® 2Cl- (aq) + Br2 (l)
ง. Pt (s) / Br2 (l) / Br- (aq) / / Cl-
(aq) / Cl2 (g) / Pt (s)
9. สมการแสดงปฏิกิริยารีดอกซ์ คือ
ก. 2Br- (aq) ® Br2 (l) + 2e-
ข. Cl2 (g) + 2e- ® 2Cl- (g)
ค. Cl2 (g) + 2Br- (aq) ® 2Cl- (aq) + Br2 (l)
ง. Pt (s) / Br2 (l) / Br- (aq) / / Cl-
(aq) / Cl2 (g) / Pt (s)
10. เซลล์ไฟฟ้ า Pt(s) / H2 (g) / H+ (aq) // Br- (aq)/Br2 (l) / Pt(s)
ปฏิกิริยาที่ขั้วแอโนดคือ
ก. 2H+ + 2e- H2
ข. 2Br- Br2 + 2e
ค. Pt Pt2+ + 2e
ง.
H2 2H+ + 2e-
นางสาวปิยาอร บัวน่วม
ตอบลบนางสาวจิรสุตา โคแก้ว
ตอบลบนายชาญชัย มณีทอง
ตอบลบนางสาวอัญชลี โยธี
ตอบลบนางสาวพรอุมา ฉงอนรัมย์
ตอบลบนางสาวชุติมา อรุณรัตน์
ตอบลบสมปอง แก้วภูมิแห่
ตอบลบนายพงษ์ศักดิ์ จงกรด
ตอบลบนายชัชวาล พรมกลาง
ตอบลบนายปรเมษฐ์ ลือปัญญา
ตอบลบนางสาวแพรวพรรณ ศิริจันทร์
ตอบลบนายเอกพัฒน์ งามดี
ตอบลบนายสุวรรณ ดาวดายรัมย์
ตอบลบนายสุวรรณ ดาวดายรัมย์
ตอบลบนายสมภพ ชำนาญกิจ
ตอบลบนายอดิศรณ์ สะเดา
ตอบลบจักรพันธ์ เดชสายบัว
ตอบลบนางสาวรัตสุดา นาคหาญ
ตอบลบนายพงศธร โตนไธสง
ตอบลบนายชัชวาล พรมกลาง12/07/62
ตอบลบ